ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โซนี่มิวสิกเอ็นเตอร์เทนเมนต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kang2540 (คุย | ส่วนร่วม)
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล บริษัท
| company_logo = [[ไฟล์:Sonymusiclogo.jpg‎|200px]]
| ชื่อ = โซนี่ มิวสิกมิวสิค ประเทศไทย
| ประเภท = บริษัทจำกัด
| ก่อตั้ง = [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2530]] (ก่อตั้ง)<br>[[2 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2551]] (ควบรวมสำเร็จ)
| สถานที่ตั้ง = [[นิวยอร์ก]] [[สหรัฐอเมริกา]] <small> (สำนักงานใหญ่) </small> <br> [[กรุงเทพมหานคร|กรุงเทพฯ]] [[ประเทศไทย|ไทย]] <small> (ไทย) </small>
| อุตสาหกรรม = [[ดนตรี]] และ [[การบันเทิง]]
บรรทัด 10:
| เว็บไซต์ = [http://www.sonymusic.co.th/ sonymusic.co.th] <small> (ไทย) </small>
}}
'''โซนี่ มิวสิกมิวสิค เอ็นเตอร์เทนเมนท์''' หรือ '''โซนี่ มิวสิกมิวสิค''' เป็นหนึ่งในสี่ค่ายเพลงยักษ์ใหญ่ของโลกภายใต้การควบคุมของบริษัท[[โซนี่]] สหรัฐอเมริกา การควบรวมธุรกิจของโซนี่ที่ได้ซื้อหุ้นอีก 50% จากบริษัท[[เบอร์เทลสแมน]]ใน[[โซนี่ บีเอ็มจี]]ที่ได้ลงทุนร่วมกันกลายเป็นของโซนี่ทั้งหมด จึงได้เปลี่ยนชื่อกลับเป็น <b>โซนี่ มิวสิกมิวสิค</b> เช่นเดิมในปลายปี [[พ.ศ. 2551]]
 
== การควบรวมครั้งแรกในชื่อ โซนี่ มิวสิกมิวสิค บีอีซี เทโร ==
 
โซนี่ มิวสิกมิวสิคมีความพยายามที่จะเจาะตลาด[[เพลงไทยสากล]] เพราะเป็นตลาดใหญ่ มีส่วนแบ่งประมาณ 70% ของอุตสาหกรรมเพลงรวม ขณะที่บีอีซี เทโรฯ ก็ต้องการพา อมิตา [[ทาทา ยัง]] นักร้องในสังกัดให้เป็นที่รู้จักในตลาดต่างประเทศ
 
การจัดตั้งบริษัทขึ้นมาใหม่ของ 2 ค่ายเพลงยักษ์ใหญ่ คือ บริษัท โซนี่ มิวสิกมิวสิค ประเทศไทย จำกัด และบริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของบีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) ผู้บริหารสถานีโทรทัศน์[[ช่อง 3]] โดยบริษัทใหม่นี้ใช้ชื่อว่า โซนี่ บีอีซี เทโร มิวสิกมิวสิค เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด ซึ่งเริ่มดำเนินธุรกิจตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2545 มีทุนจดทะเบียนอยู่ระหว่าง 70-100 ล้านบาท โดยโซนี่ มิวสิกมิวสิค เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ 60% ส่วนบีอีซี-เทโร ถือหุ้นส่วน 40 % ที่เหลือ
 
== การควบรวมครั้งที่ 2 และยุคสมัยของโซนี่ บีเอ็มจี ==
 
ปลายปี [[พ.ศ. 2547]] โซนี่ มิวสิกมิวสิคและบีเอ็มจี มิวสิกมิวสิคในต่างประเทศได้ควบรวมกิจการ มีผลให้ทั้ง 2 บริษัทในประเทศไทยต้องมีการควบรวมกันโดยปริยาย แต่ในขณะนั้นโซนี่ มิวสิกมิวสิคในประเทศไทย คือ โซนี่ มิวสิกมิวสิค บีอีซี เทโร และบีเอ็มจี มิวสิกมิวสิคที่มีบริษัทลูกคือ[[เบเกอรี่ มิวสิกมิวสิค]] นั้นมีปัญหาเรื่องหุ้นส่วน จึงได้ตกลงกันอยู่เป็นเวลาพอสมควร โดยที่บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัดได้ถอนหุ้นไป จากนั้นการควบรวมกันทำให้เปลี่ยนชื่อเป็น[[โซนี่ บีเอ็มจี]]ในเวลาต่อมา
 
== บริษัทย่อย ==
บรรทัด 26:
* Loveis (เลิฟอิส)
* อีพิกเรเคิดส์
* อาร์ซีเอมิวสิกมิวสิคกรุ๊ป
* ซอมบาเลเบลกรุ๊ป
* เลกาซี่เรเคิดดิ่งส์
* โซนี่มิวสิกมิวสิคนาชวิลเล่
* โพรวิเดนท์มิวสิกกรุ๊ปเดนท์มิวสิคกรุ๊ป
* โซนีมาสเตอร์เน็ตเวิร์ค
* อาร์อีดีดิสทริบิวชั่น
* ไสโก้มิวสิกมิวสิค
* โซนี่มิวสิกมิวสิคอินเตอร์เนชั่นเนลคอมพานีย์
 
== ศิลปินในสังกัด ==
บรรทัด 48:
* [[ซาร่า ผุงประเสริฐ]]
* [[ทาทา ยัง]](ย้ายมาจากGMM)
* [[ทูพีเอ็ม]] (โซนี่ มิวสิกมิวสิคดูแลเรื่องการจัดจำหน่ายในประเทศ)
* [[สกายคิ๊กเรนเจอร์]]
* [[รัดเกล้า อามระดิษ]]
บรรทัด 70:
* [[สตรีทฟังก์โรเลอร์ส]]
* [[จุ๋ย จุ๋ยส์]]
* [[ชูการ์ อายส์]]<ref>[http://www.sonymusic.co.th/news/viewans.asp?id=1448]. [[โซนี่ มิวสิกมิวสิค]]. เรียกข้อมูลวันที่ [[5 พฤษภาคม|5 พค.]] [[พ.ศ. 2552|2552]]</ref>
* [[L.O.G]] <ref>[http://www.sonymusic.co.th/news/viewans.asp?id=1451]. โซนี่ มิวสิกมิวสิค. เรียกข้อมูลวันที่ [[8 พฤษภาคม|8 พค.]] [[พ.ศ. 2552|2552]]</ref> (วงฮิพฮอพจาก[[สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว]])
*[[ วีนัส ฟลายแทร็ป]]
* [[ซิงกูลาร์ (วงดนตรี)|ซิงกูลาร์]]
[[ChocolateSeries]]<ref>[http://www.facebook.com/ChocolateSeries]. [[โซนี่ มิวสิกมิวสิค]]. เรียกข้อมูลวันที่ [[5 พฤษภาคม|5 พค.]] [[พ.ศ. 2552|2552]]</ref>
{{กลาง}}
* [[Room39]]