ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทักษิณ ชินวัตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Playboyxo (คุย | ส่วนร่วม)
Sethasilp (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 42:
}}
 
'''พันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร''' ({{lang-roman|Thaksin Shinawatra}}; {{zh|c=丘達新|p=Qiū Dáxīn}}; เกิด: 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2492) เป็น[[นายกรัฐมนตรีไทย]]คนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี [[พ.ศ. 2544]]– จนกระทั่งพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี [[พ.ศ. 2549]] พ้นจากตำแหน่งหลัง[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|การรัฐประหาร 19 กันยายน 2549]] เป็นหนึ่งในบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในประเทศไทย และได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในโลกที่ต้องใช้ชีวิตในคุกหรืออยู่ระหว่างการหลบหนีคดีความอาญา<ref name="forbthaksin">[http://archive.is/20130629080012/http://www.forbes.com/2010/05/28/billionaire-convict-inmate-fugitive-sanford-jail.html Billionaire Convicts And Inmates]</ref> ติดอันดับหนึ่งในห้าของอดีตผู้นำของโลกที่ปฏิบัติตัวไม่ดีหลังพ้นตำแหน่ง <ref name="badexes">[http://www.foreignpolicy.com/articles/2010/10/01/bad_exes?page=0,4 Bad Exes]</ref> ปัจจุบันอยู่ระหว่างหลบหนีโทษจำคุก<ref>[http://www.thainewyork.com/find-1367.html น.ช.ทักษิณ หนีสุดขอบฟ้า ผวาคุกหนักหลังแพ้ซ้ำซาก]</ref>
 
เคยเป็น[[นักธุรกิจ]][[โทรคมนาคม]]และ[[การสื่อสาร]] ผู้ก่อตั้ง[[ชิน คอร์ปอเรชั่น|กลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)]] บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย<ref>[http://www.settrade.com/simsImg/news/2010/10004648.zip สรุปงบการเงินรายปี52]</ref> อดีต[[ตำรวจไทย|ข้าราชการตำรวจ]] อดีตเจ้าของและประธาน[[สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี]] อดีตที่ปรึกษา[[นายกรัฐมนตรี]]แห่ง[[ประเทศกัมพูชา]] [[สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน]] และอดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา มีสัญชาติไทยโดยการเกิด เคยถือสัญชาติ[[ประเทศนิการากัว|นิการากัว]]<ref>{{cite news|title= Thaksin has Nicaraguan passport |newspaper= [[Bangkok Post]] |date= 16 April 2009 |url= http://www.bangkokpost.com/news/politics/140713/thaksin-holds-nicaraguan-passport }}</ref><ref>{{cite news|title= Nicaraguan party queries Thaksin move |newspaper= [[The Nation]] |date= 23 April 2009 |url= http://www.nationmultimedia.com/2009/04/23/politics/politics_30101077.php}}</ref> ปัจจุบันถือสัญชาติ[[ประเทศมอนเตเนโกร|มอนเตเนโกร]]<ref>{{cite news|title=Montenegro gives Thaksin a passport| publisher=Bangkok Post| date=May 13, 2009 |url=http://www.bangkokpost.com/news/politics/143140/montenegrin-govt-issues-thaksin-passport}}</ref>
บรรทัด 98:
{{บทความหลัก|การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทักษิณ ชินวัตร}}
 
พันตำรวจโท ทักษิณ ดำรงตำแหน่ง[[รายนามนายกรัฐมนตรีไทย|นายกรัฐมนตรีของไทย]]คนที่ 23 โดยดำรงตำแหน่งสองสมัยติดต่อกัน ระหว่างปีวันที่ [[17 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2544]] – [[11 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2548]] หลังจากสภาผู้แทนราษฎรครบวาระ และดำรงตำแหน่งอีกครั้งหนึ่งเมื่อวันที่ [[11 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2548]] - [[19 กันยายน]] [[พ.ศ. 2549]]
 
== เหตุลอบสังหาร ==
บรรทัด 105:
== ความเคลื่อนไหวหลังรัฐประหาร พ.ศ. 2549 ==
{{บทความหลัก|รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549}}
[[ไฟล์:Thaksin declares state of emergency.jpg|right|thumb|พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร รักษาการนายกรัฐมนตรี ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน]]
ในวันที่ [[19 กันยายน]] พ.ศ. 2549 เวลาประมาณ 21.00 น. [[คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] ซึ่งมีพลเอก [[สนธิ บุญยรัตกลิน]] ผู้บัญชาการทหารบกเป็นหัวหน้าคณะ กระทำ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|รัฐประหาร]] ยึดอำนาจจากรัฐบาลภายใต้การรักษาการนายกรัฐมนตรีของ พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งอยู่ระหว่างร่วมประชุม[[สหประชาชาติ]] ที่[[นครนิวยอร์ก]] [[สหรัฐอเมริกา]] ซึ่ง{{cn-span|พันตำรวจโท ทักษิณ ออกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในเวลา 22.00 น. สดทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ แต่ในขณะที่การประกาศยังไม่จบ พลเอก สนธิ สั่งตัดภาพและเข้าสู่ประกาศ[[คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] จึงถือเป็นการยึดอำนาจได้สำเร็จ ในเวลา 23:00 น.}}
 
การรัฐประหารครั้งนี้ เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญใน[[วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553|วิกฤตการณ์ทางการเมือง]] ที่ดำเนินมานับแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2548 คณะรัฐประหารยกเลิกการเลือกตั้งในเดือนตุลาคม ปีนั้น ยกเลิก[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540]] สั่งยุบรัฐสภา สั่งห้ามการประท้วง และทำกิจกรรมทางการเมือง เกินกว่า 5 คน ยับยั้งและปิดกั้นสื่อทุกประเภท ประกาศใช้[[กฎอัยการศึก]]ทั่วราชอาณาจักร และควบคุมตัวบุคคลสำคัญในรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณหลายคน อาทิ พลตำรวจเอก [[ชิดชัย วรรณสถิตย์]] รองนายกรัฐมนตรี, นายแพทย์[[พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช]] เลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็นต้น
บรรทัด 219:
จากกรณีการขายหุ้น บมจ.ชินคอร์ปอเรชั่น ทำให้บุคคลบางกลุ่มที่ต่อต้านพันตำรวจโท ทักษิณ และที่เห็นว่าพันตำรวจโท ทักษิณหลีกเลี่ยงภาษี ร่วมกันแสดงท่าทีขับไล่พันตำรวจโท ทักษิณออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รวมถึงการเข้าร่วมชุมนุมประท้วง ที่กลุ่มต่อต้านรัฐบาลพันตำรวจโท ทักษิณจัดขึ้นนานมาแล้ว จนเมื่อเกิดการขายหุ้นดังกล่าว ตามที่สนธิ ลิ้มทองกุลคาดการณ์ไว้แล้ว ส่งผลให้มีผู้ร่วมชุมนุมมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
 
เย็นวันที่ [[24 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2549]] พันตำรวจโท ทักษิณประกาศ[[ยุบสภาผู้แทนราษฎร]] และจัดให้มี[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในไทย พ.ศ. 2549|การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ขึ้นใหม่ ในวันที่ [[2 เมษายน]] [[พ.ศ. 2549]] โดยกล่าวถึงเหตุผลในตอนหนึ่งของแถลงการณ์ ทาง[[โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย]] เมื่อเวลา 20.30 น. คืนวันเดียวกันว่า มีกลุ่มผู้ประท้วงที่ต่อต้านระบอบ[[ประชาธิปไตย]] กดดันให้ตนลาออกจากตำแหน่ง<ref>[http://www.online-station.net/news/views.php?id=3591 ด่วน!!! “ทักษิณ”ยุบสภา-เลือกตั้งใหม่]</ref>
 
วันที่ [[3 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2549]] พรรคไทยรักไทยจัดการปราศรัยใหญ่ ที่[[ท้องสนามหลวง]] โดยพันตำรวจโท ทักษิณ ในฐานะหัวหน้าพรรค ขึ้นปราศรัยในเวลา 20.00 น. มีผู้เดินทางมาฟังปราศรัยประมาณสองแสนคน จนเต็มท้องสนามหลวง <ref>[http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9490000029816 ประมวลภาพบรรยากาศ “ทักษิณ” ปราศรัยที่ท้องสนามหลวง]</ref><ref>[http://tnews.teenee.com/politic/306.html แฉม็อบจัดตั้ง ทรท.ยั่วยุม็อบอหิงสาไล่ทักษิณ]</ref>
บรรทัด 225:
วันที่ [[5 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2549]] [[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]] โดยแกนนำทั้งห้า นำประชาชนจำนวนหนึ่งปิดล้อมทำเนียบรัฐบาล เพื่อกดดันทุกวิถีทาง ให้พันตำรวจโท ทักษิณ ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และเว้นวรรคทางการเมือง อีกทั้งต้องตรวจสอบทรัพย์สินทั้งหมด แต่พันตำรวจโท ทักษิณก็ยืนยันว่า ตนจะลาออกจากตำแหน่งรักษาการไม่ได้ โดยให้เหตุผลว่า [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540]] มาตรา 215 วรรคสอง บัญญัติให้''[[คณะรัฐมนตรี]]ที่พ้นจากตำแหน่ง ต้องอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป จนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่'' จึงไม่สามารถลาออกจากตำแหน่งได้<ref>[http://www.ftawatch.org/news/view.php?id=8460 ล้อม"ทำเนียบ" นับแสนโชว์พลังไล่"ทักษิณ"]</ref>
 
วันที่ [[2 เมษายน]] [[พ.ศ. 2549]] มี[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในไทย เมษายน พ.ศ. 2549|การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] ซึ่งพรรคฝ่ายค้านสามพรรค คือพรรคประชาธิปัตย์ พรรคชาติไทย และพรรคมหาชน ประกาศว่าจะไม่ส่งผู้สมัครลงรับการเลือกตั้ง และมีการกล่าวหาว่า [[พรรคไทยรักไทย]]จ้างให้พรรคการเมืองขนาดเล็กลงสมัครรับเลือกตั้ง เพื่อมิให้ขัดต่อพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา พุทธศักราช 2542 โดยผลการเลือกตั้งครั้งนี้ พรรคไทยรักไทยยังได้รับคะแนนเสียงข้างมาก ซึ่งในการเลือกตั้งมีปัญหาอยู่หลายอย่างคือ มีแค่ผู้สมัครพรรคไทยรักไทยเพียงพรรคเดียวลงรับสมัครเลือกตั้ง และได้คะแนนไม่ถึงร้อยละ 20 และปัญหาหลายๆอย่างเกี่ยวกับการฉักบัตรเลือกตั้งซึ่งมีจำนวนมากที่สุดในประวัติศาสตร์ และ ส.ส. มีจำนวนไม่ครบในสภา แถมยังมีการจ้างพรรคเล็กๆลงเลือกตั้ง เพื่อหลีกเลี่ยง การได้คะแนนมากกว่าร้อยละ 20 จนกระทั่งไม่สามารถเปิดประชุมสภาได้
 
วันที่ [[4 เมษายน]] [[พ.ศ. 2549]] เวลา 20.30 น. พันตำรวจโท ทักษิณ ออกแถลงการณ์ทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยว่า แม้พรรคไทยรักไทยจะได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งก็ตาม แต่ตนจะไม่ขอรับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีก แต่จำเป็นจะต้องรักษาการในตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เพื่อรอการสรรหาคณะรัฐมนตรีและนายกรัฐมนตรีที่เหมาะสม
 
<!--พระราชดำรัสต่อตุลาการศาลปกครองสูงสุดหายไป-->
วันที่ [[8 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2549]] [[ศาลรัฐธรรมนูญ]]อ่านคำวินิจฉัย ให้การเลือกตั้งเมื่อวันที่ [[2 เมษายน]] เป็นโมฆะ และหารือกับคณะรัฐมนตรีแล้วเห็นด้วยที่จะต้องจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ ในวันที่ [[15 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2549]] และเพิกถอนสิทธิการเลือกตั้ง คณะกรรมการการเลือกตั้ง 3 คน
 
วันที่ [[9 กันยายน]] [[พ.ศ. 2549]] พันตำรวจโท ทักษิณ เดินทางด้วยเครื่องบินประจำตำแหน่ง ไปยังนครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เพื่อเข้าร่วมประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ
 
วันที่ [[19 กันยายน]] [[พ.ศ. 2549]] เวลากลางคืน [[คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] นำโดยพลเอก [[สนธิ บุญยรัตกลิน]] ทำการยึดอำนาจการปกครอง จาก[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55|รัฐบาลรักษาการ]]พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร โดยอ้างเหตุว่า รัฐบาลรักษาการการบริหารราชการแผ่นดินโดยมิชอบธรรม และสร้างความเดือดร้อนให้กับประชาชน ในขณะที่พันตำรวจโท ทักษิณยังปฏิบัติภารกิจในต่างประเทศ และได้มีคำสั่งให้ยกเลิก[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ตุลาคม พ.ศ. 2549|การเลือกตั้งในวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2549]] ถูกยกเลิกและได้ประกาศให้อำนาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีเป็นของหัวหน้า[[คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]]
 
วันที่ [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2549]] [[คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข]] ได้ประกาศแต่งตั้ง [[สุรยุทธ์ จุลานนท์|พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์]] ให้เป็นนายกรัฐมนตรี และจัดตั้ง [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56|รัฐบาลชั่วคราว]]
 
=== การขับไล่พันตำรวจโท ทักษิณ ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ===