ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธรรมบท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ธรรมบท''' เป็นชื่อประชุมพระพุทธฎีกาในรูปแบบร้อยกรอง และเป็นหนึ่งในตำราพุทธศาสนาซึ่งได้รับความนิยมอ่านทั้งเป็นที่รู้จักมากที่สุด<ref name="best-known text">See, for instance, Buswell (2003): "rank[s] among the best known Buddhist texts" (p. 11); and, "one of the most popular texts with Buddhist monks and laypersons" (p. 627). Harvey (2007), p. 322, writes: "Its popularity is reflected in the many times it has been translated into Western languages"; Brough (2001), p. xvii, writes: "The collection of Pali ethical verses entitled ''Dhammapada'' is one of the most widely known of early Buddhist texts."</ref> ธรรมบทฉบับต้นที่สุดอยู่ใน[[ขุททกนิกาย]]ซึ่งเป็นหมู่หนึ่งใน[[พระไตรปิฎก]]ฉบับ[[หีนยาน]]
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Expand language| langcode = en | otherarticle = Dhamma| lang = ภาษาอังกฤษ }}
'''ธรรมบท''' (Pāli; Prakrit: धम्मपद Dhamapada; Sanskrit: धर्मपद Dharmapada) คือ พุทธพจน์ในรูปบทกวี<ref><small>ฉันทลักษณ์ทั้งหมดโดยมากเป็น ปัฐยาวัตรฉันท์</small></ref> มีหัวข้อธรรมชั้นสำคัญรวบรวมเป็นหมวดหมู่ ธรรมบท หรือ ''ธมฺมปท'' เป็นเทศนาประเภทร้อยกรองของพระพุทธเจ้า ทรงแสดงแก่บุคคลตั้งแต่บรรพชิต คฤหัสถ์ นักปราชญ์ ตลอดชาวบ้านธรรมดา กระทั่งเด็กเล็ก ๆก็มีเนื้อหาการแสดงธรรมะ ธรรมบทมีทั้งหมด 423 คาถา แบ่งเป็น 26 วรรค นับเป็นหัวใจหรือสรุปคำสอนของพระพุทธเจ้า เป็นพระคัมภีร์บาลี คัมภีร์แรกที่ได้รับการแปลถ่ายทอดเป็นภาษาต่างประเทศมากที่สุด ธรรมบท ใช้เป็นหลักสูตรของพระสงฆ์ชั้นประโยค 3 - 6 ประโยค โดยเรียนควบคู่กับอรรถกถา ชื่อ ''" ธัมมปทัฏฐกถา "'' แต่งโดยพระพุทธโฆษาจารย์ เมื่อประมาณ พุทธศตวรรษที่ 10 ธรรมบท มีลักษณะพิเศษ <ref><small>[[:s:แปลความธรรมบทฉบับชาวบ้าน|ธรรมบท ได้รับการแปลเป็นสำนวนไทยมากหลายสำนวน รวมทั้งในพระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวง]]</small></ref> สอนให้คิดเปรียบเทียบเป็นอุปมาอุปไมยดัดแปลงให้เป็นประโยชน์ เมื่อฝึกฝนตามข้อคิดจะได้บรรลุอรหันต์ {{วิกิซอร์ซ|ธัมมปทัฏฐกถา}}
== หนังสือธรรมบท ==
หนังสือธรรมบทเป็นหนังสือที่รู้จักกันดี นิยมกันอย่างแพร่หลาย เริ่มมาจากภาษาบาลีในพระไตรปิฎก, ซึ่งเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ ชื่อขุทกนิกาย ธรรมบท เป็นคำสอนที่ครอบคลุมทุกหลักการ เป็นคัมภีร์ที่นักปราชญ์มุ่งหมายให้ผู้คนทุกชั้นแปล เพื่อจุดมุ่งหมายของตนทางจิตใจ การแปลพระคัมภีร์ เป็นการนำเสนอ สิ่งที่พระพุทธเจ้าสอน การแปลเป็นฉบับตัวอย่าง ดังเช่น ฉบับของท่านขันติปาโล ภิกขุ ชาวอังกฤษ พระนารทเถระ แห่งศรีลังกา และศาสตราจารย์พิเศษ เสฐียรพงษ์ วรรณปก ราชบัณฑิตไทย ก็อยู่ในทำเนียบผู้แปลที่สำคัญ ดังเป็นที่ทราบกันถึงประวัติ ว่าหนังสือธรรมบทเป็นบทร้อยกรองระดับคลาสสิคในวงวรรณกรรมทางศาสนา
<br>
 
[[พุทธโฆษะ]] นักวิชาการและนักวิจารณ์พุทธศาสนา อธิบายว่า พระพุทธฎีกาแต่ละส่วนที่บันทึกไว้นั้น[[พระโคดม]]ทรงแสดงไว้ต่างโอกาสแล้วแต่สถานการณ์จำเพาะที่บังเกิดขึ้นในพระชนม์และใน[[คณะสงฆ์|สังฆมณฑล]] เขาร่ายรายละเอียดสถานการณ์ดังกล่าวไว้ในงานเขียนเรื่อง "ธรรมบทอรรถกถา" ซึ่งต่อมากลายเป็นแหล่งตำนานพระพุทธประวัติ<ref>This commentary is translated into English as ''Buddhist Legends'' by E W Burlingame.</ref>
</br>
 
<center>{{userboxtop|align=center|bordercolor=#BDBDAD|toptext=ตัวอย่างการแปลธรรมบท บทที่ ๑}}
== การจัดระเบียบ ==
<div style="float:left; border:solid #DDAA77 1px; margin: 1px 1px;"><!-- user anti-anon -->
 
{| cellspacing="0" style="width: 490px; background: #BDBDHD;"
ธรรมบทในภาษาบาลีประกอบด้วยร้อยกรอง 423 บท แบ่งเป็น 26 หมวดดังนี้<ref name=muller>English chapter titles based on Müller (1881).</ref><ref name=SLTP>Pali retrieved 2008-03-28 from "Bodhgaya News" (formerly, La Trobe U.) starting at http://www.bodhgayanews.net/tipitaka.php?title=&record=7150, and from "MettaNet - Lanka" at http://www.metta.lk/tipitaka/2Sutta-Pitaka/5Khuddaka-Nikaya/02Dhammapada/index.html.</ref><ref>Brough (2001) orders the chapters of the Gandhari Dharmapada as follows: {{IAST|I. Brāhmaṇa; II. Bhikṣu; III. Tṛṣṇā; IV. Pāpa; V. Arhant; VI. Mārga; VII. Apramāda; VIII. Citta; IX. Bāla; X. Jarā; XI. Sukha; XII. Sthavira; XIII. Yamaka; XIV. Paṇḍita; XV. Bahuśruta; XVI. Prakīrṇaka (?); XVII. Krodha; XVIII. Pruṣpa; XIX. Sahasra; XX. Śīla (?); XXI. Kṛtya (?); XXII. Nāga, or Aśva (?); XXIII. - XVI. [''Lost''].}} [Parenthesized question marks are part of Brough's titles.]
| style="width: 45px; height: 45px; background: #BDBDHD; text-align: center;" |[[ไฟล์:THE BUDDHA 'S WORD IN THE DHAMMAPADA.JPG|thumb|<small>th-Pali dhammapada</small>|45px]]
 
| style="font-size: 8pt; padding: 4pt; line-height: 1.25em; color: black;" |
Cone (1989) orders the chapters of the Patna Dharmapada as follows: {{IAST|1. Jama; 2. Apramāda; 3. Brāhmaṇa; 4. Bhikṣu; 5. Attha; 6. Śoka; 7. Kalyāṇī; 8. Puṣpa; 9. Tahna; 10. Mala; 11. Bāla; 12. Daṇḍa; 13. Śaraṇa; 14. Khānti; 15. [[Āsava]]; 16. Vācā; 17. Ātta; 18. Dadantī; 19. Citta; 20. Māgga; 21. Sahasra; [22. Uraga].}}</ref>
:''๑.'' มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา
{|
:มโนเสฎฺฐา มโนมยา
|-
:มนสา เจ ปทุฎฺเฐน
| style="text-align:right" | 1.
:ภาสติ วา กโรติ วา
| ยมกวัคค์ (บทแฝด)
:ตโต นํ ทุกฺขมเนฺวติ
|-
:จกฺกํว วหโต ปทํ ฯ ๑ ฯ ''[ขุทกนิกาย]''. — [[:en:q:Dhammapada|'''ธรรมบท''']]
| style="text-align:right" | 2.
|}</div>
| อปปมาทวัคค์ (บทไม่ประมาท)
<div style="float:left; border:solid #DDAA77 1px; margin: 1px 1px;"><!-- user anti-anon -->
|-
{| cellspacing="0" style="width: 490px; background: #BDBDHD;"
| style="text-align:right" | 3.
| style="width: 45px; height: 45px; background: #BDBDHD; text-align: center;" | [[ไฟล์:Ajaan Goeff Dhamma Talk cropped.jpg|thumb|<small>Ṭhānissaro Bhikkhu</small>|45px]]
| จิตวัคค์ (บทคำนึง)
| style="font-size: 8pt; padding: 4pt; line-height: 1.25em; color: black;" |
|-
:''I.'' Phenomena are preceded by the heart,ruled by the heart,made of the heart.
| style="text-align:right" | 4.
:If you speak or act
| บุปผวัคค์ (บทดอกไม้)
:with a corrupted heart,
|-
:then suffering follows you —
| style="text-align:right" | 5.
:as the wheel of the cart,the track of the ox
| พาลวัคค์ (บทคนชั่ว)
:that pulls it. ''[Ecclesiastical writer]''. — [[:en:q:Dhammapada|'''ธรรมบท''']]
|-
|}</div>
| style="text-align:right" | 6.
<div style="float:left; border:solid #DDAA77 1px; margin: 1px 1px;"><!-- user anti-anon -->
| ปัณฑิตวัคค์ (บทผู้ทรงภูมิ)
{| cellspacing="0" style="width: 490px; background: #BDBDHD;"
|-
| style="width: 45px; height: 45px; background: #BDBDHD; text-align: center;" | [[ไฟล์:0666.jpg|thumb|<small>Sathienpong Wannapok</small>|45px]]
| style="text-align:right" | 7.
| style="font-size: 8pt; padding: 4pt; line-height: 1.25em; color: black;" |
| อรหัตนวัคค์ (บทอรหันต์)
:''บทที่ 1.'' Mind foreruns all mental conditions,
|-
:Mind is chief, mind-made are they;
| style="text-align:right" | 8.
:If one speak or acts with a wicked mind,
| สหัสสวัคค์ (บทพัน)
:Then suffering follows him
|-
:Even as the wheel the hoof of the ox. ''[Secular writer]''. — [[:en:q:Dhammapada|'''ธรรมบท''']]
| style="text-align:right" | 8.
|}</div>
| ปาปวัคค์ (บทบาป)
{{userboxbottom}}</center>
|-
<br>
| style="text-align:right" | 10.
</br>
| ทัณฑวัคค์ (บทลงโทษ)
{{โครง}}
---|-
| style="text-align:right" | 11.
{{รายการอ้างอิง}}
| ชราวัคค์ (บทสูงวัย)
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|dhammapada}}
|-
{{โครงวรรณกรรม}}
| style="text-align:right" | 12.
| อัตตวัคค์ (บทตน)
|-
| style="text-align:right" | 13.
| โลกวัคค์ (บทโลก)
|-
| style="text-align:right" | 14.
| พุทธวัคค์ (บทตื่นรู้)
|-
| style="text-align:right" | 15.
| สุขวัคค์ (บทสุข)
|-
| style="text-align:right" | 16.
| ปิยวัคค์ (บทอันเป็นที่รัก)
|-
| style="text-align:right" | 17.
| โกธวัคค์ (บทโกรธ)
|-
| style="text-align:right" | 18.
| มลวัคค์ (บทมัวหมอง)
|-
| style="text-align:right" | 19.
| ธัมมัตถวัคค์ (บททรงธรรม)
|-
| style="text-align:right" | 20.
| มัคควัคค์ (บทชี้ทาง)
|-
| style="text-align:right" | 21.
| ปกิณณกวัคค์ (บทเบ็ดเตล็ด)
|-
| style="text-align:right" | 22.
| นิรยวัคค์ (บทนรก)
|-
| style="text-align:right" | 23.
| นาควัคค์ (บทช้างสาร)
|-
| style="text-align:right" | 24.
| ทัณหวัคค์ (บทกระหาย)
|-
| style="text-align:right" | 25.
| ภิกขุวัคค์ (บทขอทาน)
|-
| style="text-align:right" | 26.
| พราหมณวัคค์ (บทพราหมณ์)
|}
 
== อ้างอิง ==
{{reflist|2}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* {{ws-il|en:Dhammapada|ธรรมบท}}
 
[[หมวดหมู่:ขุททกนิกาย]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ธรรมบท"