ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แถบลำดับหลัก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Ceromaru (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:HRDiagram.png|thumb|250px|[[ไดอะแกรมของเฮิร์ตสปรังแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์]] ที่พล็อตความสว่างแท้จริง (หรือ[[ความส่องสว่างสัมบูรณ์]]) ของ[[ดาวฤกษ์]]เทียบกับดัชนีสี แถบลำดับหลักจะมองเห็นเป็นแถบขวางโดดเด่นวิ่งจากด้านบนซ้ายลงไปยังด้านล่างขวา]]
{{Star nav}}
 
'''แถบลำดับหลัก''' ({{lang-en|Main sequence}}) คือชื่อเรียกแถบต่อเนื่องและมีลักษณะพิเศษที่ปรากฏอยู่บนแผนภาพคู่ลำดับระหว่างสีของดาวฤกษ์กับ[[ความส่องสว่างสัมบูรณ์|ความสว่าง]] แผนภาพคู่ลำดับสี-ความสว่างนี้รู้จักกันทั่วไปในชื่อ [[ไดอะแกรมของเฮิร์ตสปรังแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์]] หรือ HR Diagram ซึ่งเป็นผลการศึกษาร่วมกันระหว่าง[[เอจนาร์ เฮิร์ตสปรังแฮร์ทสชปรุง]] กับ[[เฮนรี นอร์ริส รัสเซลล์]] ดาวที่อยู่บนแถบนี้จะรู้จักกันว่า ดาวบนแถบลำดับหลัก หรือดาวฤกษ์แคระ
 
หลังจากที่ดาวฤกษ์ก่อตัวขึ้นแล้ว มันจะสร้างพลังงานออกมาจากย่านใจกลางอันหนาแน่นและร้อนจัดโดยปฏิกิริยา[[นิวเคลียร์ฟิวชัน]]ของอะตอม[[ไฮโดรเจน]]ไปเป็น[[ฮีเลียม]] ระหว่างที่กระบวนการนี้ดำเนินไปในช่วงอายุของดาว จะสามารถระบุตำแหน่งบนแถบลำดับหลักได้โดยใช้มวลของดาวเป็นข้อมูลเบื้องต้น ประกอบกับข้อมูลองค์ประกอบทางเคมีและปัจจัยอื่นๆ อีก โดยทั่วไปยิ่งดาวฤกษ์มีมวลมากก็จะยิ่งมีช่วงอายุบนแถบลำดับหลักสั้นยิ่งขึ้น หลังจากเชื้อเพลิงไฮโดรเจนที่แกนกลางถูกใช้จนหมดไป ดาวฤกษ์ก็จะเคลื่อนออกไปจากแถบลำดับหลัก