ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวยักษ์เล็ก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Ceromaru (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Star nav}}
'''ดาวยักษ์เล็ก''' ({{lang-en|Subgiant star}}) เป็นประเภทของ[[ดาวฤกษ์]]ที่สว่างกว่าดาวแคระปกติใน[[แถบลำดับหลัก]]ในชั้นสเปกตรัมเดียวกัน แต่ไม่สว่างเท่ากับ[[ดาวยักษ์]] ถึงแม้ว่าดาวยักษ์เล็กจะมีลักษณะแน่นอนว่าเป็นดาวสว่างผิดปกติซึ่งอุดมไปด้วยโลหะและมีปฏฺิกิริยาฟิวชั่นไฮโดรเจน (แบบเดียวกับดาวกึ่งแคระว่าเป็นดาวฤกษ์มัวผิดปกติซึ่งมีโลหะอยู่น้อยและมีปฏิกิริยาฟิวชั่นไฮโดรเจน) แต่ก็เป็นที่เชื่อกันทั่วไปว่าดาวยักษ์เล็กเป็นดาวฤกษ์ที่เผาผลาญเชื้อเพลิงไฮโดรเจนที่แกนกลางจนหมดหรือกำลังจะหมดแล้ว ในดาวยักษ์เล็กที่มีมวลประมาณ 1 [[มวลดวงอาทิตย์]] เหตุการณ์ดังกล่าวทำให้แกนกลางยุบตัวลง ซึ่งเพิ่มอุณหภูมิใจกลางของดวงฤกษ์ให้สูงพอที่จะย้ายฟิวชั่นไฮโดรเจนไปยังเปลือกหุ้มรอบแกน และยังเพิ่มขนาดของดาวจนกระทั่งกลายเป็นดาวยักษ์ ที่จุดเริ่มต้นของระยะดาวยักษ์เล็ก (อย่างเช่น โปรซิออน) เส้นผ่านศูนย์กลางและความสว่างจะเพิ่มขึ้น แต่ดาวจะยังไม่เย็นตัวลงหรือเปลี่ยนสีอย่างเห็นได้ชัด ดาวยักษ์เล็กในช่วงหลังจะมีความคล้ายดาวยักษ์มากขึ้นโดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่ขึ้นและมีอุณหภูมิต่ำกว่าดาวฤกษ์ที่มีมวลเท่ากันในแถบลำดับหลัก ความสว่างโดยรวมเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยระหว่างระยะดาวยักษ์เล็ก ดังที่แสดงให้เห็นโดยวิวัฒนาการตามแนวนอนอย่างเหมาะสมออกจากแถบลำดับหลักในทันที ลักษณะดังกล่าวมีความโดดเด่นอย่างมากใน[[ไดอะแกรมของแฮร์ทสปรุง-รัสเซลล์]]ของ[[กระจุกดาวทรงกลม]]
 
'''ดาวยักษ์เล็ก''' ({{lang-en|Subgiant star}}) เป็นประเภทของ[[ดาวฤกษ์]]ที่สว่างกว่าดาวแคระปกติใน[[แถบลำดับหลัก]]ในชั้นสเปกตรัมเดียวกัน แต่ไม่สว่างเท่ากับ[[ดาวยักษ์]] ถึงแม้ว่าดาวยักษ์เล็กจะมีลักษณะแน่นอนว่าเป็นดาวสว่างผิดปกติซึ่งอุดมไปด้วยโลหะและมีปฏฺิกิริยาฟิวชั่นไฮโดรเจน (แบบเดียวกับดาวกึ่งแคระว่าเป็นดาวฤกษ์มัวผิดปกติซึ่งมีโลหะอยู่น้อยและมีปฏิกิริยาฟิวชั่นไฮโดรเจน) แต่ก็เป็นที่เชื่อกันทั่วไปว่าดาวยักษ์เล็กเป็นดาวฤกษ์ที่เผาผลาญเชื้อเพลิงไฮโดรเจนที่แกนกลางจนหมดหรือกำลังจะหมดแล้ว ในดาวยักษ์เล็กที่มีมวลประมาณ 1 [[มวลดวงอาทิตย์]] เหตุการณ์ดังกล่าวทำให้แกนกลางยุบตัวลง ซึ่งเพิ่มอุณหภูมิใจกลางของดวงฤกษ์ให้สูงพอที่จะย้ายฟิวชั่นไฮโดรเจนไปยังเปลือกหุ้มรอบแกน และยังเพิ่มขนาดของดาวจนกระทั่งกลายเป็นดาวยักษ์ ที่จุดเริ่มต้นของระยะดาวยักษ์เล็ก (อย่างเช่น โปรซิออน) เส้นผ่านศูนย์กลางและความสว่างจะเพิ่มขึ้น แต่ดาวจะยังไม่เย็นตัวลงหรือเปลี่ยนสีอย่างเห็นได้ชัด ดาวยักษ์เล็กในช่วงหลังจะมีความคล้ายดาวยักษ์มากขึ้นโดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่ขึ้นและมีอุณหภูมิต่ำกว่าดาวฤกษ์ที่มีมวลเท่ากันในแถบลำดับหลัก ความสว่างโดยรวมเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยระหว่างระยะดาวยักษ์เล็ก ดังที่แสดงให้เห็นโดยวิวัฒนาการตามแนวนอนอย่างเหมาะสมออกจากแถบลำดับหลักในทันที ลักษณะดังกล่าวมีความโดดเด่นอย่างมากใน[[ไดอะแกรมของแฮร์ทสปรุงแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์รัสเซลล์‎]]ของ[[กระจุกดาวทรงกลม]]
 
{{ดาวฤกษ์}}