ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิสุทธิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
'''วิสุทธิ''' หมายถึง ความบริสุทธิ์ ความหมดจด ในทาง[[พระพุทธศาสนาพุทธ]] มีการกล่าวถึง '''วิสุทธิ 7''' ซึ่งหมายถึง ความบริสุทธิ์ที่สูงขึ้นไปตามลำดับ เป็น[[การทำให้ชำระให้บริสุทธิ์]] ด้วยการฝึกฝนตนเองที่เรียกว่า[[ไตรสิกขา]] ไปโดยลำดับ จนบรรลุจุดมุ่งหมายคือ[[นิพพาน]] มี 7 ขั้น คือ
'''วิสุทธิ''' หมายถึง ความบริสุทธิ์ ความหมดจด
 
ในทาง[[พระพุทธศาสนา]] มีการกล่าวถึง '''วิสุทธิ 7''' ซึ่งหมายถึง ความบริสุทธิ์ที่สูงขึ้นไปตามลำดับ เป็นการทำให้บริสุทธิ์ ด้วยการฝึกฝนตนเองที่เรียกว่า[[ไตรสิกขา]] ไปโดยลำดับ จนบรรลุจุดมุ่งหมายคือ[[นิพพาน]] มี 7 ขั้น คือ
*'''ศีลวิสุทธิ''' หรือ ความหมดจดแห่ง[[ศีล]] คือ การถือศีลอย่างไม่งมงาย ละสีลัพพัตตปรามาส ด้วยการมีศรัทธาพละสมดุลกับปัญญาพละ ไม่ศรัทธาจนถืออย่างไม่เข้าใจ หรือมีปัญญามาก เกิดความลังเลสงสัย ได้แต่ถือแต่ใจกลับไม่มีศรัทธา
 
เพราะการรักษาศีลให้บริสุทธิ์ ตั้งใจรักษา ทำให้สามารถปฏิบัติ [[สมาธิ]]กับ[[วิปัสสนา]]ได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br>ในคัมภีร์[[คัมภีร์วิสุทธิมรรค]] ได้กล่าวถึง [[ปาริสุทธิศีล]] 4 ซึ่งหมายถึง ความประพฤติบริสุทธิ์ที่จัดเป็นศีล มีสี่ข้อ ได้แก่
#''ปาฏิโมกขสังวรศีล'' หมายถึง ศีลคือความสำรวมในพระ[[ปาฏิโมกข์]] เว้นจากข้อห้าม และทำตามข้ออนุญาต ตลอดจนประพฤติเคร่งครัดใน[[สิกขาบท]] (คือ ศีลและมารยาทที่มีอยู่ใน[[พระไตรปิฎก]]นั่นเอง)
#''อินทรียสังวรศีล'' หมายถึง ศีลคือความสำรวม[[อินทรีย์]]6 ระวังไม่ให้[[บาป]][[อกุศลธรรม]]เกิดขึ้นได้ ในขณะที่รับรู้อินทรีย์ทั้งหก คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ
เส้น 17 ⟶ 15:
*'''ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ''' หมายถึง ความหมดจดแห่งญาณอันรู้เห็นทางดำเนิน ([[ญาณ|วิปัสสนาญาณ 9]])รู้ทุกขอริยสัจจ์ทั้ง๘ระดับจึงรู้สมุทัยอริยสัจจ์ทั้ง๘ จึงรู้นิโรธอริยสัจจ์ทั้ง๘ จึงรู้มรรคอริยสัจจ์ทั้ง๘ และพิจารณาทั้งสิ้นพร้อมกัน (สามัคคีธรรม)เมื่อถึงสัจจานุโลมมิกญาณ คือหมุนธรรมจักรทั้ง๘ และพิจารณาดุจผู้พิพากษาพิจารณาเหตุทั้งสิ้น
*'''ญาณทัสสนวิสุทธิ''' หมายถึง ความหมดจดแห่งญาณทัสสนะ คือการปฏิบัติบริบูรณ์จนก้าวผ่านภูมิจิตเดิมคือโคตรภูญาณและวิทานะญาณ ได้ความรู้แจ้งใน[[มรรค|อริยมรรค]]หรือมรรคญาณ ความบรรลุเป็น[[อริยบุคคล]]หรือผลญาณ พิจารณาธรรมที่ได้บรรลุแล้วคือปัจจเวกขณะญาณ ย่อมเกิดขึ้นในวิสุทธิข้อนี้ เป็นอันบรรลุผลที่หมายสูงสุดแห่งวิสุทธิ หรือไตรสิกขา หรือการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น
 
== วิสุทธิ 7 กับ วิปัสสนาญาณ ==
วิสุทธิ 7 เป็นปัจจัยส่งต่อกันขึ้นไปเพื่อบรรลุนิพพาน เป็นพระ[[อริยบุคคล]]ในพระพุทธศาสนา ดังบรรยายในรถวินีตสูตร (พระสูตรหนึ่งใน[[พระไตรปิฎกภาษาบาลี]]) เปรียบวิสุทธิ 7 ว่าเสมือนรถเจ็ดผลัด ส่งต่อกันให้บุคคลถึงที่หมาย สามารถเปรียบเทียบ [[ไตรสิกขา]], วิสุทธิ 7, [[ญาณ]] 16 , [[ปาริสุทธิศีล]] 4 และสมาธิ ได้ดังนี้
เส้น 58 ⟶ 57:
* [http://84000.org/tipitaka/dic/ พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม".]
* พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พุทธธรรม".
 
==ดูเพิ่ม==
*[[ญาณ]]
*[[ญาณทัสสนะ]]
*[[วิปัสสนากรรมฐาน]]
[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]