ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิบัติการวัลคือเรอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 7:
== แผนการ ==
 
แผนการดั้งเดิมได้รับการออกแบบมาเพื่อรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินภายในประเทศ โดยกองเสนาธิการของนายพลฟรีดริช ออลบริชต์<ref name="Ref-1">Joachim Fest, ''Plotting Hitler's Death: The German Resistance to Hitler, 1933–1945'', 1996, p219</ref> โดยใช้แนวคิดในการดึงเอากองทัพหนุนจากแผ่นดินเยอรมนีเพื่อใช้ในการก่อ[[รัฐประหาร]]เคยเกิดขึ้นมาก่อนหน้านี้แล้ว แต่การปฏิเสธที่จะให้ความร่วมมือในการก่อรัฐประหารของนายพลโท[[:en:Friedrich Fromm|ฟรีดริช ฟรอมม์]] ผู้บังคับบัญชากองทัพหนุนและเป็นผู้ที่สามารถออกคำสั่งเริ่มปฏิบัติการวาลคิรีได้ถัดจากฮิตเลอร์ ได้เป็นอุปสรรคต่อคณะรัฐประหารอย่างร้ายแรง แต่กระนั้น หลังจากบทเรียนที่ได้รับมาหลังจาก[[:en:Operation Spark (1940)|ความพยายามลอบสังหารฮิตเลอร์]] ในวันที่ [[13 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1943]] แล้ว นายพลออลบริชต์รู้สึกว่าแผนการก่อรัฐประหารดั้งเดิมนั้นไม่เพียงพอ และต้องการดึงเอากองทัพหนุนมาใช้ในการก่อรัฐประหารด้วย แม้ว่าจะไม่ได้รับความร่วมมือจากพลโทฟรอมม์ฟรอมม์ก็ตาม
 
แผนการวาลคิรีดั้งเดิมมีเจตนาที่จะจัดการกับยุทธศาสตร์ในการเตรียมพร้อมในการทำการรบ แม้ว่าจะขาดกกองทัพหนุน แต่นายพลออลบริชต์ได้เพิ่มเติมส่วนที่สองของแผนการดังกล่าว ซึ่งเป็นการเปลี่ยนกองทหารให้เข้าสู่การพร้อมรบ ระหว่างเดือนสิงหาคมถึงเดือนกันยายน ค.ศ. 1943 พันเอกเทรสคอว์พบว่า การพิจารณาของนายพลออลบริตช์ยังไม่เพียงพอ จึงได้ขยายแผนการวาลคิรีออก และร่างคำสั่งเพิ่มเติม โดยมีการออกประกาศลับด้วยประโยคที่ว่า ''"[[ฟือเรอร์|ท่านผู้นำ]]ฮิตเลอร์เสียชีวิตแล้ว! คณะผู้นำพรรคนาซีผู้ทรยศได้พยายามที่จะใช้ประโยชน์จากการณ์นี้โดยการโจมตีเหล่าทหารจากแนวหลัง และยึดอำนาจไว้กับตนเองเอง"''
 
คำสั่งและรายละเอียดถูกเขียนขึ้นสำหรับการยึดครองกระทรวงของรัฐบาลใน[[เบอร์ลิน|กรุงเบอร์ลิน]] กองบัญชาการใหญ่ของฮิมม์เลอร์ในปรัสเซียตะวันออก สถานีวิทยุและสถานีโทรศัพท์ และกลไกของระบอบนาซีจากมณฑลทหารบก และ[[ค่ายกักกัน]]<ref name="Ref-1"/> (ก่อนหน้านี้ เป็นที่เชื่อกันว่าพันเอก[[:en:Claus Schenk von Stauffenberg|เคลาส์ เชงค์ ฟอน สเตาฟเฟนเบิร์ก]]รับผิดชอบต่อแผนการวาลคิรี แต่ในเอกสารที่ถูกค้นพบหลังจากสงครามยุติโดยสหภาพโซเวียต ซึ่งเผยแพร่ในปี [[ค.ศ. 2007]] ได้ชี้ว่า แผนการดังกล่าวได้รับการพัฒนาขึ้นโดยพันเอกเทรสคอว์ ช่วงฤดูใบไม้ผลิ ปี ค.ศ. 1943<ref> [http://www.atypon-link.com/OLD/doi/pdf/10.1524/VfZg.2007.55.2.331 Peter Hoffmann, "Oberst i. G. Henning von Tresckow und die Staatsstreichpläne im Jahr 1943]</ref>) ข้อมูลทั้งหมดถูกเขียนขึ้นและเก็บรักษาไว้โดยภรรยาและเลขานุการของพันเอกเทรสอคว์ ซึ่งทั้งสองคนใส่ถุงมือเพื่อปิดบังรอยนิ้วมือเอาไว้ตลอดเวลา<ref>Joachim Fest, ''Plotting Hitler's Death: The German Resistance to Hitler, 1933–1945'', 1996, p220</ref>
 
ใจความหลักของแผนการดังกล่าวมีใจความหลักใน คือการหลอกให้กองทัพหนุนเข้ายึดอำนาจและล้มล้างรัฐบาลพลเรือนยามสงครามของเยอรมนี ภายใต้สถานการณ์หลอกลวงโดยให้ข้อมูลเท็จว่า หน่วยเอสเอสพยายามจะก่อการรัฐประหาร และได้ลอบสังหารฮิตเลอร์แล้ว ปัจจัยที่สำคัญคือ นายทหารระดับล่าง (ผู้ซึ่งถูกเข้าใจเอาแผนการนี้ถือว่าจะเป็นผู้ก่อการในครั้งนี้ผู้นำแผนการไปปฏิบัติ) จะถูกกระตุ้นให้กระทำการดังกล่าว จากความเชื่อผิด ๆ ที่ว่าความเป็น กลุ่มผู้นำของรัฐบาลพลเรือนนาซี ผู้ซึ่งมีได้ประกอบพฤติกรรมที่ขาดความจงรักภักดีและทรยศต่อรัฐ และสมควรดังนั้นจึงจำเป็นที่จะถูกต้องล้มล้างลงเสีย เหล่าผู้สมคบคิดจะนำรวมในแผนการนี้ตั้งความหวังไว้กับการที่เหล่าทหารที่ได้รับคำสั่งจะยอมทำตามคำสั่ง (หลอก)ของพวกเขาด้วยดี เมื่อพวกเขาก้าวขึ้นสู่อำนาจหลังหากคำสั่งดังกล่าวมาจากช่องทางการสั่งการล้มล้างรัฐบาลเก่าและบังคับบัญชาที่ถูกต้อง กล่าวคือ ผ่านทางกองบัญชาการกองทัพหนุนมา โดยเฉพาะในสถานการณ์ฉุกเฉินหลังจากฮิตเลอร์ถูกสังหารแล้ว
 
มีเพียงนายพลฟรีดริช ฟรอมม์ ผู้บัญชาการกองทัพหนุน ที่จะออกคำสั่งให้ดำเนินปฏิบัติการวาลคิรีได้หลังจากการตายของหากฮิตเลอร์ตายแล้ว ดังนั้นเขาจะต้องถูกดึงตัวเข้าร่วมกับคณะรัฐประหารหรือให้ดำรงตนเป็นกลางด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง ถ้าหากต้องการให้แผนการดังกล่าวประสบความสำเร็จ ทั้งนี้ เช่นเดียวกับนายทหารระดับสูงของเยอรมนีส่วนใหญ่ นายพลฟรอมม์ทราบอย่างกว้างๆ ถึงแผนการสมคบคิดในกลุ่มทหารต่อต้านฮิตเลอร์ แต่เขาก็ไม่ได้ให้การสนับสนุนแผนดังกล่าว ขณะเดียวกันก็ไม่ได้รายงานเรื่องนี้ต่อ[[เกสตาโป]]แต่อย่างใดด้วย
 
== การลงมือปฏิบัติ ==