ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามอ่าว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Rotlink (คุย | ส่วนร่วม)
fixing dead links
บรรทัด 188:
ในหมู่วิธีอื่นๆ ที่ส่งอิทธิพลต่อความเห็นของสหรัฐ (เช่น การแจกจ่ายหนังสือที่ตีแผ่ความโหดร้ายของอิรักต่อทหารอเมริกัน เสื้อที่มีข้อความว่า'ปลดปล่อยคูเวต' รวมทั้งการกระจายเสียงในมหาวิทยาลัยและวิดีโอมากมายทางโทรทัศน์) บริษัทดังกล่าวได้จัดให้มีการปรากฏตัวต่อหน้าสมาชิกสภาคองเกรส ซึ่งมีผู้หญิงคนหนึ่งระบุตนว่าเป็นพยาบาลที่ทำงานในโรงพยาบาลในคูเวต พร้อมอธิบายว่าเห็นทหารอิรักนำเด็กทารกออกจากเครื่องอบและทิ้งให้ทารกตายบนพื้น<ref name=kuwaitgate />
 
เรื่องดังกล่าวส่งอิทธิพลต่อทั้งสาธารณะและสภาคองเกรสในเรื่องการทำสงครามกับอิรัก สมาชิกสภาหกคนเห็นว่าเรื่องเล่าดังกล่าวเป็นเหตุผลเพียงพอที่จะให้ใช้กองทัพจัดการกับอิรักและมีวุฒิสมาชิกอีกเจ็ดคนที่นำเรื่องดังกล่าวสู่การถกเถียง วุฒิสภาสนับสนุนให้มีการลงมือทางทหารด้วยเสียงโหวต 52 ต่อ 47 เสียง อย่างไรก็ตามหนึ่งปีหลังจากสงครามเริ่มขึ้น การให้การดังกล่าวถูกเปิดเผยว่าเป็นเรื่องโกหก ผู้หญิงคนดังกล่าวที่เป็นคนให้การถูกพบในภายหลังว่าเป็นสมาชิกราชวงศ์ของคูเวต และเป็นลูกสาวของทูตคูเวตในสหรัฐ<ref name=kuwaitgate>{{Cite news| url=http://findarticles.com/p/articles/mi_m1316/is_n9_v24/ai_12529902 | work=Washington Monthly | title=Kuwaitgate – killing of Kuwaiti babies by Iraqi soldiers exaggerated | first=Ted | last=Rowse | year=1992|archiveurl=http://archive.is/oZMm|archivedate=2012-05-29}}</ref> เธอไม่ได้อาศัยอยู่ในคูเวตตอนที่อิรักทำการบุกด้วยซ้ำ
 
รายละเอียดของการประชาสัมพันธ์โดยบริษัทฮิลล์แอนด์โนล์ตันถูกตีพิมพ์ในหนังสือ ''Second Front: Censorship and Propaganda in the Gulf War'' ที่เขียนโดยจอห์น อาร์. แมคอาเธอร์ และเป็นที่สนใจในหมู่ประชาชนเมื่อความคิดเห็นของแมคไนท์ถูกตีพิมพ์ใน"[[เดอะนิวยอร์กไทมส์]]" สิ่งที่เกิดขึ้นคือมีการกระตุ้นให้เกิดการตรวจสอบ หลังจากที่ไม่พบหลักฐานเรื่องที่ทหารอิรักปฏิบัติกับเด็กทารก องค์กรดังกล่าวก็ถอนตัวออกไป ประธานาธิบดีบุชได้ย้ำเรื่องข้อกล่าวหาดังกล่าวอีกครั้งทางโทรทัศน์