ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทศกาลกินเจ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{แก้รูปแบบ}}
'''เทศกาลกินเจขี้''' หรือ '''กินแจ'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]</ref> ({{lang-zh|九皇勝會}} ''Jiǔ huán Shèng huì''; [[หมิ่นหนาน|ฮกเกี้ยน]]: กิ้วอ๋องเซ่งโห่ย; {{lang-en|Nine Emperor Gods Festival}}) หรือบางแห่งเรียกว่า '''ประเพณีถือศีลกินผัก'''<ref>http://news.phuketindex.com/travel/phuket-vegetarian-2-190191.html</ref> เป็นประเพณีแบบ[[ลัทธิเต๋า]]รวม 9 วัน กำหนดเอาวันตาม[[จันทรคติ]] คือ เริ่มต้นตั้งแต่วันขึ้น 1 ค่ำ ถึง ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 9 ตาม[[ปฏิทินจีน]]ของทุกปี มีจุดเริ่มต้นจาก[[ประเทศจีน]]มานานแล้ว โดยมีตำนานเล่าขานกันหลายตำนาน ปัจจุบัน เทศกาลกินเจขี้จัดขึ้นในประเทศ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ได้แก่ [[สิงคโปร์]] [[มาเลเซีย]] และ[[ไทย]] ตลอดจน[[หมู่เกาะรีออ]]ใน[[อินโดนีเซีย]]และอาจมีในบางประเทศเอชีย เช่น [[ภูฏาน]] [[ญี่ปุ่น]] [[เกาหลี ]] [[ไต้หวัน]] [[ฮ่องกง]]{{อ้างอิง}} ซึ่งการกินเจขี้ในเดือน 9 นี้ เชื่อกันว่าน่าจะเกิดขึ้นเมื่อราว พ.ศ. 2170 ตรงกับสมัย[[อาณาจักรอยุธยา]]<ref name="doctorcos">http://www.doctorcosmetics.com/read_content.php?id=1791&pagetype=product</ref>
 
== ประวัติ ==
 
ประเพณีถือศีลกินขี้หรือกินเจขี้ซึ่งเป็นพิธียันตรกรรมบูชาที่ยิ่งใหญ่ที่สุด โดยอาศัยพระแม่แห่งดวงดาว[[มารีจี]] [[摩利支]] ในแบบของ[[พระพุทธศาสนา]][[นิกายมหายาน]] แต่ในทางลัทธิเต๋าเรียกว่า เต้าโบ้หงวนกุนหรือเต้าโบ้เทียนจุน [[斗姆元君]],斗姆天尊 ใน[[ภาษาฮกเกี้ยน]] เป็นศูนย์กลางสมมติของพิธีศักดิ์สิทธิ์นี้ มักอิงประวัติผูกติดอยู่กับฝ่ายตำนานเทพแห่ง[[ดาวนพเคราะห์]]มากกว่า ซึ่งเป็นศาสตร์แห่ง[[ลัทธิเต๋า]] ต่อมาเมื่อ[[พระพุทธศาสนา]]เผยแผ่เข้าสู่เมือง[[จีน]] นับจากนั้นเป็นต้นมาเมื่อ[[พระพุทธศาสนา]]เจริญขึ้น จึงปรากฏตำนานความเชื่อที่ผูกโยงกับ[[พระพุทธเจ้า]] 9 พระองค์และ[[พระโพธิสัตว์]]อีก 2 พระองค์ เรียกว่า กิ้วอ๋องฮุดโจ้ว 九皇佛祖 ใน[[ภาษาจีนแต้จิ๋ว]] โดยคติความเชื่อใน[[ประเพณี]]ของ[[ชาวจีน]] โดยเฉพาะ[[ลัทธิขงจื้อ]]ซึ่งเน้นในเรื่องบรรพบุรุษและความ[[กตัญญู]] บรรดาบูรพ[[กษัตริย์]]ที่เคยอุทิศตนเพื่อให้ประชาชนมีความเจริญโดยใช้หลักเมตตาธรรมก็จะเป็นบุคคลผู้ได้รับการสรรเสริญจากประชาชน ตามตำนานสามารถรวบรวมได้ 9 พระองค์ ซึ่งอยู่ในยุคสมัยต่างๆกัน ทั้ง 9 พระองค์รวมเรียกว่าพระราชาธิราช 9 พระองค์ ใน[[ภาษาจีนฮกเกี้ยน]]เรียกว่า : [[กิ๋วอ๋องไต่เต่]] , [[九皇大帝]] ซึ่ง[[ชาวจีน]]เชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างในโลกเป็นธรรมชาติและดำเนินไปตามวิถีแห่งสวรรค์ อาศัยตามความเชื่อใน[[ลัทธิเต๋า]] จึงส่งผลให้เกิดการนับถือดวง[[วิญญาณ]]ที่สถิตอยู่ในสรวงสวรรค์ พระเจ้าแผ่นดินทั้งเก้าพระองค์เมื่ออยู่ในโลกมนุษย์ได้ประกอบกรรมดีมากมาย เมื่อสิ้นพระชนม์แล้วจึงได้จุติเป็นเทพเจ้าประจำ[[ดาวนพเคราะห์]] ทำหน้าที่คุ้มครองมวลหมู่ประชาราษฎร์ให้บังเกิดความร่มเย็นสืบไป<ref name="doctorcos">http://www.trangzone.com/webboard_show.php?page=5&ID=4152</ref>
 
== ตำนาน ==
 
=== ตำนานที่ 1 ===
กล่าวกันว่า การกินเจขี้เริ่มขึ้นเพื่อรำลึกถึงนักรบ "หงี่หั่วท้วง" ซึ่งเป็นทหารชาวบ้านของจีนที่ต่อสู้ต้านทานกองทัพแมนจูอย่างกล้าหาญ ฝ่ายแมนจูมี[[ปืนไฟ]]ของชาวตะวันตกที่ฝ่ายจีนไม่มี นักรบหงี่หั่วท้วงเหล่านี้จะประกอบพิธีกรรมนุ่งขาวห่มขาว ไม่กินเนื้อสัตว์และผักที่มีกลิ่นฉุน และท่องบริกรรมคาถาตามความเชื่อของจีน เชื่อกันว่าจะสามารถป้องกันปืนไฟได้ แต่ก็ไม่ประสบผล ครั้นจีนพ่ายแพ้แมนจู ชายชาวจีนถูกบังคับให้ไว้ผมอย่างชาวแมนจู ซึ่งสร้างความคับแค้นให้แก่ชาวจีนอย่างมาก ชาวจีนจึงรำลึกถึงนักรบหงี่หั่วท้วงเหล่านี้ด้วยสำนักในบุญคุณ<ref name="doctorcos"/>
 
=== ตำนานที่ 2 ===
บรรทัด 18:
=== ตำนานที่ 3 ===
 
ผู้ถือศีลกินเจขี้ในพระพุทธศาสนาฝ่าย[[มหายาน]]ที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาของชาวจีนในประเทศไทย เพื่อสักการบูชาพระพุทธเจ้าในอดีลกาล 7 พระองค์ ดังมีใน[[พระสูตร]] ปั๊กเต๊าโก๋ว ฮุดเชียวไจเอียงชั่วเมียวเกง กล่าวไว้คือ [[พระวิชัยโลกมนจรพุทธะ]] [[พระศรีรัตนโลกประภาโมษอิศวรพุทธะ]] [[พระเวปุลลรัตนโลกวรรณสิทธิพุทธะ]] [[พระอโศกโลกวิชัยมงคลพุทธะ]] [[พระวิสุทธิอาศรมโลกเวปุลลปรัชญาวิภาคพุทธะ]] [[พระธรรมมติธรรมสาครจรโลกมโนพุทธะ]] [[พระเวปุลลจันทรโภคไภสัชชไวฑูรย์พุทธะ]] และพระมหาโพธิสัตว์อีก 2 พระองค์ คือ[[พระศรีสุขโลกปัทมอรรถอลังการโพธิสัตว์]]และ[[พระศรีเวปุลกสังสารโลกสุขอิศวรโพธิสัตว์]]
รวมเป็น 9 พระองค์(หรือ “เก้าอ๊อง”)ทรงตั้งปณิธานจักโปรดสัตว์โลก จึงได้แบ่งกายมาเป็นเทพเจ้า 9 พระองค์ด้วยกันคือ ไต้อวยเอี๊ยงเม้งทัมหลังไทแชกุน ไต้เจียกอิมเจ็งกื้อมึ้งงวนแชกุน ไต้กวนจิงหยิ้งลุกช้งเจงแชกุน ไต้ฮั่งเฮี่ยงเม้งม่งเคียกนิวแชกุน ไต้ปิ๊กตังง้วนเนี้ยบเจงกังแชกุน ไต้โพ้วปั๊กเก๊กบู๊เอียกกี่แชกุน ไต้เพียวเทียนกวนพัวกุงกวนแชกุน ไต้ตั่งเม้งงั่วคูแชกุน ฮุ้ยกวงไตเพียกแชกุน เทพเจ้าทั้ง 9 พระองค์ ทรงอำนาจตบะอันเรืองฤทธิ์บริหารธาติดิน น้ำ ลม ไฟ และทอง ทั่วทุกพิภพน้อยใหญ่สารทิศ
 
=== ตำนานที่ 4 ===
 
กินเจขี้เพื่อเป็นการบูชา“[[จักรพรรดิซ่งตี้ปิง|กษัตริย์เป๊ง]]”ซึ่งเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของ[[ราชวงศ์ซ้อง]]ซึ่งสิ้นพระชนม์โดยทรงทำ[[อัตวินิบาตกรรม]] (การฆ่าตัวตาย) ในขณะที่เสด็จ[[ไต้หวัน]]โดยทางเรือ เมื่อมีพระชนนมายุได้ 9 พรรษา พิธีบูชาเพื่อระลึกถึงราชวงศ์ซ้องนี้ มีแต่เฉพาะใน[[มณฑลฮกเกี้ยน]]ซึ่งเป็นดินแดนผืนสุดท้ายของราชวงศ์ซ้องเท่านั้น โดยชาวฮกเกี้ยนได้จัดทำพิธีดังกล่าวนี้ขึ้นด้วยการอาศัยศาสนาบังหน้าการเมือง การที่เผยแผ่มาสู่เมืองไทยได้นั้นเพราะชาวจีนจากฮกเกี้ยนนำมาเผยแผ่
 
=== ตำนานที่ 5 ===
บรรทัด 30:
จนวันหนึ่งชาวกังไสเกิดความแตกสามัคคีและเอาเปรียบกัน เทพยดาทราบว่าอีกไม่นานกังไสจะเกิดภัยพิบัติจึงหาผู้อาสาช่วยแต่ชาวบ้านจะพ้นภัยได้ก็ต่อเมื่อได้สร้างผลบุญของตนเอง ดวงวิญญาณพระราชโอรสองค์โตรับอาสาและเพ่งญาณเห็นว่าควรเริ่มที่บ้านเศรษฐีใจบุญ ลีฮั้วก่าย
 
คืนวันหนึ่งคนรับใช้แจ้งเศรษฐีลีฮั้วก่ายว่ามีขอทานโรคเรื้อนมาขอพบเศรษฐีจึงมอบเงินจำนวนหนึ่งให้เป็นค่าเดินทาง แต่ขอทานไม่ไปและประกาศให้ชาวเมืองถือศีลกินเจขี้เป็นเวลา 9 วัน 9 คืนผู้ใดทำตามภัยพิบัติจะหายไป เศรษฐีนำมาปฏิบัติก่อนและผู้อื่นจึงปฏิบัติตามจนมีการจัดให้มีอุปรากรเป็นมหรสพในช่วงกินเจขี้ด้วย
 
เล่าเอี๋ยเกิดศรัทธาประเพณีกินเจขี้ของมณฑลกังไสจึงได้ศึกษาตำราการกินเจขี้ของเศรษฐีลีฮั้วก่ายที่บันทึกไว้ แต่ได้ดัดแปลงพิธีกรรมบางอย่างให้รัดกุมยิ่งขึ้นและให้มีพิธีเชี้ยยกอ๋องส่องเต้ (พิธีเชิญเง็กเซียนฮ่องเต้มาเป็นประธานในพิธี)
 
=== ตำนานที่ 6 ===
บรรทัด 41:
เมื่อถึงเขาโพถ้อซัวขณะที่เล่าเซ็งก้มลงกราบไหว้พระโพธิสัตว์นั้น เขาเห็นแม่ลอยอยู่เหนือกระถางธูปที่คนอื่นมองไม่เห็น ขณะเดินทางกลับเขาได้แยกทางกับหญิงสาวและได้พบเด็กชายคนหนึ่งยืนร้องไห้อยู่จึงเข้าไปถามไถ่ได้ความว่าเป็นลูกของเขากับภรรยาที่เลิกกันไปนานแล้ว เขาจึงพาไปอยู่ด้วยแล้ววันหนึ่งหญิงสาวที่นำทางไปเขาโพถ้อซัวมาขออาศัยอยู่ด้วย ทั้งสามอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข
 
หญิงสาวผู้นั้นเป็นสาวบริสุทธิ์ประพฤติตนเป็นคนดีอยู่ในศีลธรรมและถือศีลกินเจอยู่ขี้อยู่เนืองนิตย์ นางรู้ว่าใกล้ถึงวันตายของนางแล้วจึงบอกเล่าเซ็ง เมื่อถึงวันนั้นนางอาบน้ำแต่งตัวด้วยอาภรณ์ที่ขาวสะอาดแล้วนั่งสักครู่ก็สิ้นลม เล่าเซ็งเห็นการจากไปด้วยดีของนางคล้ายกับแม่จึงเกิดศรัทธายกสมบัติให้ลูกชายแล้วประพฤติตนใหม่ เมื่อตายไปจะได้บังเกิดผลเช่นเดียวกับแม่และหญิงสาวและประเพณีกินเจขี้จึงเริ่มขึ้น
 
== ความหมายของ เจ ==
{{ต้นฉบับ}}
[[ไฟล์:Chinese vegetarian symbol.jpg|right|frame|ธงที่ใช้ประดับหน้าร้านอาหารเจ มีตัว[[อักษรจีน]]สีแดง 齋 บนพื้นสีเหลือง หรือใช้คำว่า "เจ" แทนก็ได้|100px]]
คำว่า เจ ใน[[ภาษาจีน]]ทาง[[พุทธศาสนา]][[นิกายมหายาน]]มีความหมายเดียวกับคำว่า [[อุโบสถ]] ดังนั้นการกินเจขี้ก็คือการรับประทานอาหารก่อนเที่ยงวัน เหมือนกับที่ชาวพุทธใน[[ประเทศไทย]]ที่ถือ[[อุโบสถศีล]] หรือรักษาศีล 8 โดยไม่รับประทานอาหารหลังจากเที่ยงวันไปแล้ว แต่เนื่องจากการถืออุโบสถศีลของชาวพุทธนิกายมหายานที่ไม่กินเนื้อสัตว์ จึงนิยมนำการไม่กินเนื้อสัตว์ไปรวมกันเข้ากับคำว่ากินเจขี้ กลายเป็นการถือศีลกินเจขี้ ในปัจจุบันผู้ที่รับประทานอาหารทั้ง 3 มื้อแต่ไม่กินเนื้อสัตว์ก็ยังคงเรียกว่ากินเจขี้ ฉะนั้นความหมายก็คือคนกินเจขี้มิใช่เพียงแต่ไม่กินเนื้อสัตว์ แต่ยังต้องดำรงตนอยู่ในศีลธรรมอันดีงาม มีความบริสุทธิ์ สะอาด ทั้งกาย วาจา ใจ
 
ในภาษาจีนมีคำหรือวลีที่ใช้อักษรแจ (เจ, 齋/斋) เป็นตัวประกอบร่วมด้วยหลายคำ แต่คำว่าโป๊ยกวนแจไก่ (八關齋戒) แปลว่า ศีลบริสุทธิ์แปดประการ อันหมายถึง [[อุโบสถศีล]] ซึ่งเป็นศัพท์ของทางพุทธศาสนา การแปลและเข้าใจคลาดเคลื่อนดังกล่าวยังถูกใช้เป็นบรรทัดฐานในการอธิบายวัตรปฏิบัติของการกินเจขี้ผิดตามไปด้วยว่า “การกินเจขี้ต้องถือศีลข้อวิกาลโภชน์” หรือการงดกินของขบเคี้ยวหลังเที่ยงวันไปแล้ว ซึ่งเป็นศีลข้อหนึ่งในศีลแปด ทั้งๆที่โรงครัวของศาลเจ้าหรือโรงเจที่เปิดเลี้ยงผู้คนในช่วงเทศกาลกินเจขี้ล้วนแต่มีอาหารมื้อเย็นให้กับผู้เข้าไปกิน ยิ่งวันที่มีการประกอบพิธีกรรมในตอนค่ำยังมีอาหารมื้อค่ำบริการเสริมให้เป็นพิเศษด้วย ที่เป็นเช่นนั้นเพราะในช่วงเทศกาลกินเจขี้นั้นเขาถือเพียงศีลห้าที่เป็นนิจศีล ไม่ได้ครองศีลแปดอย่างที่หลายคนเข้าใจ (เว้นแต่ผู้ตั้งจิตอธิษฐานว่าจะครองศีลแปดเป็นการส่วนตัวเท่านั้น)
 
ในทางอักษรศาสตร์จีน อักษรตัว “แจ” มีพัฒนาการมาจาก ตัวอักษร ฉี “ 齊 ” ซึ่งแปลว่าบริบูรณ์ , เรียบร้อย อักษรแจเกิดจากการเพิ่มเส้นตั้งและสองจุด ( 小 ) เข้าไปกลางอักษรฉี ทำให้เกิดตัว ซื ( 示 ) ซึ่งแปลว่าการสักการะ อยู่ในแก่นกลางของตัวฉี
บรรทัด 70:
* เหล่าที่ถือมั่นแต่การฉันอาหารเจ เรียกถี่สู่ /持素
 
เจียะแจ (食齋) เป็นการออกเสียงตามสำเนียงถิ่นแต้จิ๋ว ศัพท์คำนี้ใช้และเป็นที่เข้าใจแต่ทางตอนใต้ของจีนโดยเฉพาะแถบลุ่มอารยธรรมหลิ่งหนาน (領南) ในมณฑลกวางตุ้ง อันเป็นแหล่งอาศัยดั้งเดิมของคนแคะ แต้จิ๋ว กวางตุ้งและไหหนำ ซึ่งเป็นชาวจีนกลุ่มใหญ่ในประเทศไทย เจียะหรือเจี๊ยะ (食) ในภาษาถิ่นใต้ แปลว่า ''กิน'' ส่วน แจ (齋) แปลว่า ''บริสุทธิ์'' (อ้างตามปทานุกรมพุทธศาสนาฉบับ วัดฝอกวงซัน ไต้หวัน) เจียะแจตรงกับคำว่า ชือซู่ (吃素) ในภาษาจีนกลาง และตรงกับคำไทยที่นิยมใช้กันว่า กินเจขี้ จึงแปลว่า การกินอาหารที่บริสุทธิ์ตามความเชื่อ (ในลัทธิกินเจขี้) คำว่าเจียะแจนี้ชาวจีนฮกเกี้ยนทางปักษ์ใต้แถบจังหวัดภูเก็ตเรียกต่างออกไปว่า เจียะฉ่าย (食菜) ที่แปลตามตัวอักษรได้ว่า ''กินผัก'' แต่มีนิยามหรือความหมายตรงกับคำว่าเจียะแจที่กล่าวข้างต้น
 
== จุดประสงค์ของการกินเจขี้ ==
ผู้ที่กินเจขี้อาจจะมีจุดเริ่มต้นที่แตกต่างกันไป แต่จุดประสงค์หลักสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภทดังนี้
 
# กินเพื่อสุขภาพ อาหารเจเป็นอาหารประเภท[[ชีวจิต]] เมื่อกินติดต่อกันไปช่วงเวลาหนึ่งจะทำให้ร่างกายเกิดการปรับตัวให้อยู่ในสภาวะสมดุล สามารถขับพิษของเสียต่างๆ ออกจากร่างกายได้ ปรับ[[ระบบไหลเวียนโลหิต]] [[ระบบทางเดินอาหาร]]ให้มีเสถียรภาพ
บรรทัด 80:
 
== อาหารเจ ==
อาหารเจเป็นอาหารที่ปรุงขึ้นโดยไม่มีเนื้อสัตว์ หรือผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสัตว์ (เช่น นม ไข่ น้ำผึ้ง น้ำปลา [[เจลาติน]] [[คอลลาเจน]]) และไม่ปรุงด้วยผักฉุนทั้ง 5 ชนิด ได้แก่ [[กระเทียม]] [[หอม]] (ทุกชนิดอาทิ [[ต้นหอม]] [[หัวหอม]] [[หอมแดง]]) [[หลักเกียว]] [[กุยช่าย]] และใบ[[ยาสูบ]] เพราะผักเหล่านี้ทำอันตรายต่ออวัยวะในร่างกาย กระเทียมให้โทษต่อหัวใจ หอมให้โทษต่อไต หลักเกียวให้โทษต่อม้าม กุยช่ายให้โทษต่อตับ และใบยาสูบให้โทษต่อปอด บ้างเชื่อว่าผักเหล่านี้เพิ่มความกำหนัดหรือมาจากเลือดของสัตว์ตามตำนานจีน<ref name="doctorcos"/> ทำให้อาหารเจไม่มีกลิ่นคาว เนื่องจากการงดเนื้อสัตว์ ทำให้ผู้ที่กินเจขี้หันมาบริโภคธัญพืชในธรรมชาติเพื่อให้ได้มาซึ่ง[[โปรตีน]] ซึ่งส่วนใหญ่ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง<ref name="horapa">http://www.horapa.com/content.php?Category=Tips&No=663</ref> โดยในประเทศจีน พบว่ามีภัตตาคารบางแห่งซึ่งบริการ "ปรุงอาหารตามใบสั่งแพทย์" (กล่าวคือ ผู้ที่เข้ามารับประทานจะต้องได้รับใบสั่งอาหารของแพทย์เสียก่อน) โดยลูกค้าของภัตตาคารดังกล่าวเป็นคนไข้ที่กำลังเข้ารับ "การบำบัดโรคด้วยอาหารตามหลักเวชศาสตร์โบราณ" หลังเข้ารับการตรวจวินิจฉัยจากแพทย์แล้ว<ref name="horapa"/>
 
== หลักธรรมในการกินเจขี้ ==
ในทัศนะของคนกินเจขี้ การกินที่ทำให้ชีวิตผู้อื่นต้องเดือดร้อนล้มตายนั้น “มันมากเกินไป” ทั้งๆ ที่มนุษย์กินแต่อาหารพืชผักก็สามรถมีชีวิตอยู่ได้
 
การกินเจขี้ตั้งมั่นอยู่บนหลักธรรมสำคัญ 2 ประการคือ ดำรงชีวิตอยู่ด้วยอาหารที่ไม่เบียดเบียนตนเองและดำรงชีวิตอยู่ด้วยอาหารที่ไม่เบียดเบียนผู้อื่น กล่าวคือ
 
# ไม่เอาชีวิตของสัตว์ทั้งหลายมาต่อเติมบำรุงเลี้ยงชีวิตของตน
บรรทัด 93:
การรับประทานสิ่งใดก็ตามที่ทำลายสุขภาพร่างกายของตนให้ทรุดโทรม คือ การเบียดเบียนตนเอง ปัจจุบันวิทยาการเจริญก้าวหน้าได้พิสูจน์ยืนยันว่าเลือดและเนื้อของสัตว์ที่ถูกฆ่าตายเต็มไปด้วยพิษภัยมากมาย
 
ดังนั้นการกินเจขี้จึงไม่ใช่เพื่อให้เกิดผลดีต่อจิตใจเท่านั้นแต่ยังครอบคลุมไปถึงการมีสุขภาพพลานามัยที่ดีอีกด้วย ร่างกายและจิตใจเป็นของคู่กันมีความสัมพันธ์ส่งผลถึงกันคนเราย่อมไม่อาจจะรู้สึกเบิกบานสดชื่นร่าเริงได้ในขณะที่ร่างกายเจ็บป่วยทรุดโทรมย่ำแย่
 
== การปฏิบัติตนในช่วงกินเจขี้ ==
ในช่วงเทศกาลกินเจขี้ 9 วัน 9 คืน ผู้ที่ต้องการกินเจอย่างขี้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ตามประเพณีการกินเจขี้ จะต้องปฏิบัติดังนี้
 
# รับประทาน "[[#อาหารเจ|อาหารเจ]]"
บรรทัด 105:
# นุ่งขาวห่มขาว
 
สำหรับผู้ที่เคร่งครัดเพื่อการกินเจขี้ให้เป็นไปอย่างบริสุทธิ์โดยแท้ จะเพิ่มการปฏิบัติโดยการกินอาหารเฉพาะที่คนกินเจขี้ด้วยกันเป็นผู้ปรุงเท่านั้น รวมถึงจะล้างหม้อไหจนสะอาดเอี่ยมแยกภาชนะสำหรับการปรุงอาหารเจไว้โดยเฉพาะ นอกจากนี้ยังจุด[[ตะเกียง]]ไว้ 9 ดวงตลอดช่วงเทศกาลกินเจขี้ 9 วัน โดยไม่ปล่อยให้ดับเพื่อเป็นพุทธบูชาและรำลึกถึงบุญคุณของพ่อแม่ญาติพี่น้องตลอดจนผู้ที่มีบุญคุณต่อผืนแผ่นดินเกิด
 
== เทศกาลถือศีลกินผัก จังหวัดภูเก็ต ==
[[ไฟล์:Vegetarian Festival.jpg|thumb|"ม้าทรง" ใช้เหล็กเสียบแทงตนเอง ในเทศกาลกินเจขี้ที่จังหวัดภูเก็ต]]
จังหวัดภูเก็ตไม่มีประเพณีกินเจขี้เหมือนที่อื่น แต่จะเรียกว่า "ประเพณีถือศีลกินผัก" ตาม[[ภาษาจีนฮกเกี้ยน]]ที่ว่า "เจี๊ยะฉ่าย" (食菜) ตามตำนานกล่าวว่า ในอดีตเคยมีคณะ[[งิ้ว]]จากจีนมาเปิดการแสดงที่[[อำเภอกะทู้]]นานเป็นแรมปี แล้วบังเอิญช่วงนั้นเกิดโรคระบาดขึ้น คณะงิ้วจึงจัดให้มีพิธีกินผักและสร้างศาลเจ้าขึ้นเพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์ หลังจากนั้นโรคภัยไข้เจ็บก็หายสิ้น ชาวกะทู้เกิดความเลื่อมใสศรัทธาจึงปฏิบัติตาม หลังจากนั้นได้มีผู้ศรัทธามากขึ้นเรื่อย ๆ ประกอบกับอยากได้พิธีกินผักที่สมบูรณ์ตามแบบประเพณี[[มณฑลกังไส]] จึงได้ส่งตัวแทนไปนำควันธูป (เหี่ยวเอี้ยน) ในการเดินทางกลับจะต้องคอยจุดธูปต่อกันมิให้ดับมอด ศาลเจ้ากะทู้จึงได้ชื่อว่าเป็นต้นตำรับของพิธีกินผักในปัจจุบัน{{อ้างอิง}}
 
ประเพณีเจี๊ยะฉ่าย ได้เริ่มขึ้นเป็นครั้งแรกที่หมู่บ้าน ไล่ทู (ในทู) ซึ่งเป็นหมู่บ้าน[[กะทู้]] [[ตำบลกะทู้]] [[จังหวัดภูเก็ต]]ในปัจจุบัน [[คนจีน]]เหล่านั้นได้อพยพเข้ามาทำเหมืองแร่ตั้งแต่สมัย[[กรุงศรีอยุธยา]] (ในสมัยรัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]) มีการค้าขาย[[แร่ดีบุก]]กับ[[ปอร์ตุเกส]] [[ฮอลันดา]] [[ฝรั่งเศส]] [[อังกฤษ]] เป็นต้น [[คนจีน]]เหล่านั้นได้หลั่งไหลเข้ามามากที่สุดก่อนปี พ.ศ.[[2368]] คือหลังจากเมือง[[ภูเก็ต]]และเมือง[[ถลาง]]ถูก[[พม่า]]รุกรานเมื่อปี พ.ศ.[[2352]] พลเมืองได้กระจัดกระจายไปอยู่ตามที่ต่างๆ ครั้น[[พระยาถลาง]] (เจิม)ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าเมือง[[ถลาง]] และได้ตั้งเมือง[[ภูเก็ต]]ที่บ้านเก็ตโฮ่ ให้พระ[[ภูเก็ต]] (แก้ว) มาเป็นเจ้าเมือง (ระหว่าง พ.ศ. 2368-2400)
บรรทัด 134:
 
== สี ==
สีในเทศกาลกินเจขี้:
 
'''สีแดง''' เป็นสีที่ชาวจีนเชื่อว่าเป็นสีศิริมงคล ดังจะเห็นได้ว่าในงานมงคลต่างๆ ของคนจีนไม่ว่าจะเป็นงานแต่ง [[วันตรุษจีน]]
บรรทัด 172:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*[http://horoscope.sanook.com/941960/ ไหว้เทพเจ้าเสริมสิริมงคลในเทศกาลกินเจขี้]
*[http://horoscope.sanook.com/942057/ 10 อานิสงส์ ของการไม่ทานเนื้อสัตว์]
*[http://women.sanook.com/1056250/ 8 ข้อหลักง่ายๆ กินเจขี้ให้ถูกวิธี]
*[http://men.sanook.com/345/ กินเจขี้ กินให้เป็น เลือกให้ฉลาด]