ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมหลวงพิพิธมนตรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ศุกลอรรจน์ (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''กรมหลวงพิพิธมนตรี'''โอรสของพระนางทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสี...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
'''กรมหลวงพิพิธมนตรี'''โอรสของพระนางทำให้ประเทศไทยต้องสูญเสียเอกราช เจ้าฟ้าเอกทัศน์ เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าบรมโกศ และพระพันวสาน้อย หรือกรมหลวงพิพิธมนตรี พระเจ้าบรมโกศนั้น เป็นกษัตริย์ที่เข้มแข็ง ซึ่งพิสูจน์ได้จากการที่พระองค์ได้ราชสมบัติมาในฐานะที่มิใช่รัชทายาท แต่ในฐานะพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรและแต่ไหนแต่ไรมา ตำแหน่งพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรไม่เคยได้แก่คนอ่อนแอเลยทางฝ่ายพระราชมารดา คือ กรมหลวงพิพิธมนตรี อันเป็นพระอัครมเหสีน้อย ก็เป็นบุตรีนายทรงบาศ ซึ่งมีตำแหน่งเป็นพระบำเรอภูธร และมารดาเป็นเชื้อตระกูลพราหมณ์ชาวเมืองเพชรบุรี เชื้อสายทางฝ่ายพระราชบิดาและมารดาจึงไม่นับว่าถึงขั้นอ่อนแอ กรมหลวงพิพิธมนตรี มีพระราชบุตร 2 พระองค์ และพระราชบุตรี 6 พระองค์ คือ
| สีพิเศษ = #ffcc00
| สีอักษร = #8f5f12
| ภาพ = ไฟล์:กรมหลวงพิพิธมนตรี.jpg
| พระบรมนามาภิไธย =
| พระปรมาภิไธย =
| พระนาม = พระพันวสาน้อย
| วันประสูติ = ไม่ปรากฏ
| วันสิ้นพระชนม์ =ไม่ปรากฏ<br>(สิ้นพระชนม์หลังการเสียกรุง)
| พระอิสริยยศ = กรมพระเทพามาตย์
| ฐานันดรศักดิ์ = [[เจ้าต่างกรม]]
| พระบิดา = [[นายจบคชประสิทธิ์]]
| พระมารดา = ลูกจันทร์
| พระอัครมเหสี =
| พระมเหสี =
| พระราชสวามี =[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]
| พระราชโอรส/ธิดา = [[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]]
| ทรงราชย์ =
| พิธีบรมราชาภิเษก =
| ระยะเวลาครองราชย์ =
| รัชกาลก่อนหน้า =
| รัชกาลถัดมา =
}}
 
 
'''กรมหลวงพิพิธมนตรี''' เป็นพระมเหสีรองใน[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] และเป็นพระราชชนนีใน[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]]
 
==พระประวัติ==
กรมหลวงพิพิธมนตรี มีพระนามเดิมว่า พระพันวสาน้อย เป็นบุตรีนายทรงบาศก์ขวากรมช้าง (ต่อมาคือ [[นายจบคชประสิทธิ์]]) ซึ่งมีตำแหน่งเป็นพระบำเรอภูธร กับมารดานามว่าลูกจันทร์ สตรีชาวบ้านสมอพรือ มีเชื้อตระกูลพราหมณ์ชาวเมืองเพชรบุรี เมื่อได้เป็นพระเมหสีใน[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] จึงได้ทรงกรมเป็น กรมหลวงพิพิธมนตรี มีพระราชโอรส 2 พระองค์ และพระราชธิดา 6 พระองค์ คือ
* เจ้าฟ้าประภาวดี
* เจ้าฟ้าประชาวดี
เส้น 8 ⟶ 37:
* เจ้าฟ้ากุสุมาวดี
* เจ้าฟ้าดอกเดื่อ (กรมขุนพรพินิต)
โดยเฉพาะเจ้าฟ้าดอกเดื่อหรือกรมขุนพรพินิตนั้น ปรากฎว่าเข้มแข็งในการสงครามเป็นอย่างยิ่งด้วยเหตุนี้ เมื่อกรมขุนเสนาพิทักษ์ หรือกรมพระราชวังบวรในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ ต้องรับพระอาญาจากการโบยถึง 180 ที สูญสิ้นพระชนม์นั้น ตำแหน่งกรมพระราชวังบวรก็ควรจะตกอยู่กับกรมขุนอนุรักษ์มนตรี ผู้เป็นพระเชษฐา ตามคำกราบทูลของกรมขุนพรพินิต แต่สมเด็จพระเจ้าบรมโกศกลับตรัสว่ากรมขุนอนุรักษ์มนตรีนั้นโฉดเขลา หาสติปัญญาและความเพียรมิได้ กลับทรงแต่งตั้งให้กรมขุนพรพินิต เป็นกรมพระราชวังบวร และให้กรมขุนอนุรักษ์มนตรี (เจ้าฟ้าเอกทัศน์) ไปบวชเสียที่วัดลมุตปากจั่น เพื่อมิให้ขัดขวางกรมขุนพรพินิตนั้น ในขณะที่สมเด็จพระเจ้าบรมโกศประชวรหนักอยู่ ก็ให้ไปเชิญกรมหลวงพิพิธมนตรี พระราชมารดาและพระบรมวงศานุวงศ์มาอยู่พร้อมกันสิ้น รวมทั้งเจ้าฟ้าเอกทัศน์ก็ทูลลาผนวช เสด็จลงมาอยู่ด้วยเมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมโกศประชวรสิ้นพระชนม์ ราชสมบัติจึงตกอยู่แก่กรมขุนพรพินิต (เจ้าฟ้าดอกเดื่อ-อุทุมพร) แต่กรมขุนพรพินิตครองราชย์ได้เพียง 10 วัน ก็ต้องมอบราชสมบัติให้แก่พระเชษฐา คือ กรมขุนอนุรักษ์มนตรี) กรมขุนอนุรักษ์มนตรี หรือสมเด็จพระที่นั่งสุริยามรินทร์ได้ราชสมบัติ จึงโปรดให้ตั้งกรมหลวงพิพิธมนตรี พระราชมารดาเป็นพระพันปีหลวงกรมพระเพทมาตย์
 
โดยเฉพาะเจ้าฟ้าดอกเดื่อหรือกรมขุนพรพินิตนั้น ปรากฎว่าเข้มแข็งในการสงครามเป็นอย่างยิ่งด้วยเหตุนี้ เมื่อ[[เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรไชยเชษฐสุริยวงศ์ กรมขุนเสนาพิทักษ์]] หรือ[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]ในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ ต้องรับพระอาญาจากการโบยถึง 180 ที สูญสิ้นพระชนม์นั้น ตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลก็ควรจะตกอยู่กับกรมขุนอนุรักษ์มนตรี ผู้เป็นพระเชษฐา ตามคำกราบทูลของกรมขุนพรพินิต แต่สมเด็จพระเจ้าบรมโกศกลับตรัสว่ากรมขุนอนุรักษ์มนตรีนั้นโฉดเขลา หาสติปัญญาและความเพียรมิได้ กลับทรงแต่งตั้งให้กรมขุนพรพินิต เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล และให้กรมขุนอนุรักษ์มนตรี (เจ้าฟ้าเอกทัศน์) ไปบวชเสียที่วัดลมุตปากจั่น เพื่อมิให้ขัดขวางกรมขุนพรพินิตนั้น ในขณะที่สมเด็จพระเจ้าบรมโกศประชวรหนักอยู่ ก็ให้ไปเชิญกรมหลวงพิพิธมนตรี พระราชมารดาและพระบรมวงศานุวงศ์มาอยู่พร้อมกันสิ้น รวมทั้งเจ้าฟ้าเอกทัศน์ก็ทูลลาผนวช เสด็จลงมาอยู่ด้วยเมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมโกศประชวรสิ้นพระชนม์ ราชสมบัติจึงตกอยู่แก่กรมขุนพรพินิต (เจ้าฟ้าดอกเดื่อ-อุทุมพร) แต่กรมขุนพรพินิตครองราชย์ได้เพียง 10 วัน ก็ต้องมอบราชสมบัติให้แก่พระเชษฐา คือ กรมขุนอนุรักษ์มนตรี)<ref>สุเนตร ชุตินธรานนท์. ดร. '''พม่ารบไทย'''. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ:มติชน, 2554. หน้า 88</ref> กรมขุนอนุรักษ์มนตรี หรือสมเด็จพระที่นั่งสุริยามรินทร์ได้ราชสมบัติ จึงโปรดให้ตั้งกรมหลวงพิพิธมนตรี พระราชมารดาเป็น '''สมเด็จพระพันปีหลวง กรมพระเพทมาตย์'''
เมื่อสมเด็จพระพันปีหลวงกรมพระเพทามาตย์ทรงพระประชวรหนัก สมเด็จทิวงคต สมเด็จพระที่นั่งสุริยามรินทร์จึงให้แต่งพระศพใส่พระโกศ แล้วอัญเชิญขึ้นประดิษฐานบนพระที่นั่งบรรยงก์รัตนาสน์ เคียงกันเป็นสองพระโกศ
 
เมื่อสมเด็จพระพันปีหลวง กรมพระเพทามาตย์ทรงพระประชวรหนัก สมเด็จทิวงคต สมเด็จพระที่นั่งสุริยามรินทร์จึงให้แต่งพระศพใส่พระโกศ แล้วอัญเชิญขึ้นประดิษฐานบนพระที่นั่งบรรยงก์รัตนาสน์ เคียงกันเป็นสองพระโกศโกศ้<ref>จรรยา ประชิตโรมรัน. (2547). '''การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๓๑๐'''. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 185</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=stat05&date=28-01-2008&group=2&gblog=8
 
{{เจ้าต่างกรมสมัยกรุงศรีอยุธยา}}
{{เรียงลำดับ|ว}}
[[หมวดหมู่:ราชินีแห่งราชอาณาจักรไทย]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]]
[[หมวดหมู่:เจ้าต่างกรมสมัยกรุงศรีอยุธยา]]