ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มนัส โอภากุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชนะ โชคสกุล (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Song2281 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
* '''''นายมนัส โอภากุล''' ([[4 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2457]] - [[4 มกราคม]] [[พ.ศ. 2554]])
หรือชื่อที่ชาว[[จังหวัดสุพรรณบุรี]]เรียกติดปากว่า '''"อาจารย์มนัส"''' เป็นนัก[[ประวัติศาสตร์]]ท้องถิ่นของจังหวัดสุพรรณบุรี
นายมนัสเป็นบุตรชายของ นายติ๊มเข่ง แซ่โอ ชาวจีน[[แต้จิ๋ว]]อพยพ เกิดเมื่อวันที่ [[4 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2457]]
ที่จังหวัดสุพรรณบุรี จบการศึกษาจาก[[โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย]] เมื่อ ปี [[พ.ศ. 2469]] เริ่มเข้ารับราชการครูที่[
จบการศึกษาจาก[[โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย]] เมื่อ ปี [[พ.ศ. 2469]] เริ่มเข้ารับราชการครูที่[[โรงเรียนวัดสุวรรณภูมิ]] ระหว่างปี [[พ.ศ. 2478]]-[[พ.ศ. 2483]] ต่อมาได้เป็นเสมียนและผู้ช่วยผู้จัดการบริษัทสุพรรณบุรี
จังหวัดพาณิชย์ จำกัด ระหว่างปี [[พ.ศ. 2484]]-[[พ.ศ. 2487]] ภายหลังเปิดร้านค้าเป็นของตนเอง ชื่อ "ร้านมนัสพาณิชย์"
ตั้งอยู่ที่เลขที่ 770 ตลาดทรัพย์สินซอย 4 [[อำเภอเมืองสุพรรณบุรี|อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี]] ขายเครื่องดนตรีและเครื่องกีฬา
นายมนัส โอภากุล มีความสนใจและรักในการศึกษาค้นคว้าทางด้านโบราณคดีโดยเฉพาะประวัติศาสตร์ของจังหวัดสุพรรณบุรี
จนมีความรู้อย่างละเอียดและแตกฉาน ได้รวบรวมหลักฐานต่าง ๆ ทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ของจังหวัดสุพรรณบุรี
พร้อมทั้งนำไปเผยแพร่ให้ประชาชนทั่วไปได้ศึกษา จนเป็นที่ยอมรับไปทั่ว และได้รับเชิญเป็นวิทยากรบรรยายเรื่องราวต่าง ๆ
บรรทัด 12:
[[พระพุทธรูป]]และ[[พระเครื่อง]]ชนิดต่าง ๆ เช่น [[พระผงสุพรรณ]] เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังเป็นนัก[[สื่อสารมวลชน]]ท้องถิ่นที่ก่อตั้ง
[[หนังสือพิมพ์]]ท้องถิ่นฉบับแรกของสุพรรณบุรี คือ ''“หนังสือพิมพ์คนสุพรรณ”''
นอกจากนี้แล้ว ยังเคยเป็นผู้จัดการวงดนตรี[[ลูกทุ่ง]] และเป็นผู้ก่อตั้งวง[[ดนตรีสากล]]วงแรกของจังหวัดสุพรรณบุรี
โดยในปี [[พ.ศ. 2480]] ได้ตั้งวงดนตรีขึ้นในนามของ วงดนตรีโรงเรียนเทศบาลวัดปราสาททอง แล้วเปลี่ยนเป็นชื่อวง ''“มนัสและสหาย”''
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2503]] วงมนัสและสหายได้เข้าสังกัดสมาคมชาวสุพรรณ จึงได้ชื่อวง ''“ช.พ.ส.”''