ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชา-ลาเฮด-ชา-ลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
McVega-01 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
}}
 
'''CHA-LA HEAD-CHA-LA''' ({{ญี่ปุ่น|チャラ・ヘッチャラ|Chara Hetchara - อ่านว่าชาลาเฮดชาลา}}) เป็นเพลงประกอบ[[การ์ตูน]][[แอนิเมชัน]] ''[[ดราก้อนบอล Z]]'' ซึ่งเป็นเพลงแนว [[เจ-ป็อป]] ที่ขับร้องโดยคุณ[[ฮิโรโนบุ คาเงยามะ]] และจัดวางจำหน่ายในรูปของ [[แผ่นเสียง]], [[เทปคาสเส็ต]] และมินิซีดี ในวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ.1989 ที่ประเทศญี่ปุ่น และเริ่มเปิดใช้เป็นเพลงประกอบทีวีแอนิเมชันตอนที่ 200 และเป็นเพลงเิปิดเปิดครั้งแรกสำหรับประกอบภาพยนตร์ลำดับที่เก้า และได้รับการแปลงเป็นเวอร์ชันภาษาอังกฤษโดยคุณคาเงยามะเอง โดยจัดรวมเข้าในอัลบั้มลำดับที่สามของเขาที่ชื่อ "Mixture" เมื่อช่วงปีค.ศ. 1996<ref>{{cite web |url= http://music.yahoo.co.jp/shop/c/10/cocc13348/|title= Hironobu Kageyama Best Album 3: Mixture|accessdate= September 11, 2008|publisher= Yahoo Music Japan|language= Japanese}}</ref>
 
== การพัฒนา ==
ในช่วงเวลานั้น คุณคาเงยามะได้อ่านหนังสือมังงะ ''ดราก้อนบอล'' ของ ''โนเน็นจัมป์'' มาบ้างแล้ว เมื่อเขาได้รับข้อเสนอให้ทำหน้าที่บันทึกเนื้อร้อง เขาก็รู้สึกตื่นเต้นมากที่ได้ทำหน้าที่นี้<ref>{{cite web |url= http://www.otaku2.com/articleView.php?item=599|title= Otaku2 Interview: Kageyama Hironobu|author= Patrick W. Galbraith|date= January 28, 2010|publisher= Otaku2|location= [[Akihabara]]|accessdate= February 18, 2010|quote= Even after I became an adult, before I sang for the "Dragon Ball Z" anime, I was reading the manga in "Shonen Jump." I was so shocked when that job came to me!}}</ref> คุณคาเงยามะยังกล่าวอีกด้วยว่า เพลงชุดนี้เป็นผลงานที่ดีที่สุดของเขาที่สามารถทำให้ผู้คนมีความสุขตลอดเวลาในขณะที่ได้ร้องเพลงนี้<ref>{{cite web |url= http://www.otaku2.com/articleView.php?item=599|title= Otaku2 Interview: Kageyama Hironobu|author= Patrick W. Galbraith|date= January 28, 2010|publisher= Otaku2|location= [[Akihabara]]|accessdate= February 18, 2010|quote= That’s tough, but I guess it would have to be “CHA-LA HEAD-CHA-LA.” No matter where I go, people are happy when I sing that song.}}</ref>
 
==== รายการแทรค ====
บรรทัด 54:
}}}}
 
ในปีค.ศ. 2005 คุณคาเงยามะได้ถูกเรียกให้มาบันทึกเสียงอีกครั้งในเพลง "Cha-La Head-Cha-La" เวอร์ชันใหม่ โดยใช้ชื่อว่า "Cha-La Head-Cha-La (2005 Ver.)" ในเวอร์ชันนี้ ยังได้จัดวางองค์ประกอบที่แตกต่างอย่างสมบูรณ์แบบยิ่งขึ้น การวางจำหน่ายได้วางคู่กับผลงานชุด "[[We Gotta Power]]" ซึ่งใช้ชื่อชุดว่า "We Gotta Power (2005 Ver.)" ซึ่งเป็นผลงานที่คุณคาเงยามะได้ตั้งใจทำเอาไว้ ส่วนเวอร์ชัน "เซลฟ์ โคเวอร์" นั้น ได้ปรากฏภาพของคุณคาเงยามะอยู่บนหน้าปกด้วย ซึ่งได้รับการจัดวางองค์ประกอบโดย [[ไอทูนส์]]; อย่างไรก็ตาม ผลงานชุดนี้ก็ได้ละเลยการเอาใจใส่ต่อ "Cha-La Head-Cha-La (2005 ver. Instrumental)" นอกจากนี้ ก็ยังขาดในส่วนของ "mobi[le-re]make version"<ref>{{cite web |url= http://itunes.apple.com/us/album/cha-la-head-cha-la-2005-version/id129251733|title= <nowiki>iTunes Preview Cha-La Head-Cha-La (2005 Version) [Self Cover] - EP Hironobu Kageyama</nowiki>|publisher= Apple Inc.|accessdate= February 16, 2010}}</ref> ในปีค.ศ. 2005 เพลงนี้ได้ถูกนำมาจัดรวมไว้ในเกมชุด ''Super Dragon Ball Z'' ในช่วงสี่เดือนต่อมา<ref>{{cite video game|title= Super Dragon Ball Z|developer= Crafts & Meister|publisher= [[Bandai]]|date= December 22, 2005|platform= [[Arcade game|Arcade]] [[PlayStation 2]]|language= Japanese}}</ref> เวอร์ชันนี้ก็ถึงจุดสูงสุดสำหรับบริษัท Oricon<ref>{{cite web |url= http://www.oricon.co.jp/music/release/d/605457/1/|title= Cha-La Head-Cha-La (2005 ver.)|accessdate= January 19, 2009|publisher= [[Oricon]]|language= Japanese}}</ref>
 
==== รายการแทรค ====