ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ โรจนกุล)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Quantplinus (คุย | ส่วนร่วม)
Quantplinus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 35:
 
หลวงลิขิตปรีชายังได้แต่งคำโคลงจารึก <ref>กลิ่น คงเหมือนเพชร. วรรณกรรมทักษิณ: วรรณกรรมปริทัศน์. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจํากัดภาพพิมพ์, 2004. 728 หน้า</ref> <ref>ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย</ref> และแต่งหนังสือต่างๆ เช่น
 
[[ไฟล์:จารึกเพลงยาวกลบทและกลอักษร แผ่นที่ 20.PNG|150px|right|thumb|<center></center>ภาพจารึกเพลงยาวกลบทและกลอักษร แผ่นที่ 20 (กลบทพระจันท์ธรงกลด) พบที่[[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร]]]]
 
:1. จารึกโคลงภาพฤๅษีดัดตน ท่าที่ 27 (ท่าดัดตนแก้ลมชักปากเบี้ยว)
เส้น 40 ⟶ 42:
::จารึกนี้กล่าวถึงพระฤๅษีกาลสิทธิ์ (ฤๅษีปู่เจ้าสมิงพราย) แสดงบทอาสนะแห่งฤๅษีด้วยท่าตัดตนแก้ลมชักปากเบี้ยว ลมลิ้นตาย ลมเท้าเหน็บ ลมมือเหน็บ ด้วยการใช้มือหนึ่งเหนี่ยวไหล่ กดปลายนิ้วลงเหนือซอกรักแร้ และอีกมือหนึ่งหน่วงข้อเท้า โดยกดหัวแม่มือกดลงที่เอ็นเหนือตาตุ่มด้านใน จารึกดังกล่าวถูกค้นพบที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร
:2. จารึกโคลงภาพฤๅษีดัดตน ท่าที่ 45 (ท่าดัดตนแก้เท้าเย็นสบาย ใจสวิงสวาย)
 
[[ไฟล์:จารึกเพลงยาวกลบทและกลอักษร แผ่นที่ 20.PNG|150px|right|thumb|<center></center>ภาพจารึกเพลงยาวกลบทและกลอักษร แผ่นที่ 20 (กลบทพระจันท์ธรงกลด) พบที่[[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร]]]]
 
::จารึกนี้กล่าวถึงพระฤๅษีกบิล แสดงบทอาสนะแห่งฤๅษีด้วยท่าดัดตนแก้เท้าเย็น ใจสวิงสวาย โดยการไขว้เท้าหนึ่งไปวางบนตักของอีกข้างหนึ่ง ซึ่งถูกสองมือกุมเข่า รัดแข้งยกเอาไว้จารึกดังกล่าวถูกค้นพบที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร
บรรทัด 73:
 
:: นิราศสรวมครวญเป็น[[วรรณคดี]]สมัยรัตนโกสินทร์ ประกอบด้วย[[โคลงสี่สุภาพ|โคลงสุภาพชาตรี]]จำนวน 186 บท และใช้ร่ายสุภาพปิดท้ายโคลงนิราศ ซึ่งหลวงลิขิตปรีชาร่วมแต่งกับขุนสาราบรรจง ขุนจำนงสุนธร และนายเวรจำลอง ภายหลัง[[หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี]]ได้ตรวจสอบ ชำระใหม่และเขียนเพิ่มเติมเป็นฉบับ นรินทร์จัน-ประชันนรินทร์อิน ทรงใช้นามปากกาว่า “พ.ณ.ประมวญมารค”
{{คำพูด|
คำโคลงบทที่ 10
''' เทเวนทรวาสุเทพท้าว ผทมสินธุ์'''
 
'''ตัวอย่างคำประพันธ์'''
'''อ่อนอาสน์อุรัคคินทร์ ค่ำเช้า'''
''' {{บทกวี|indent=1|เทเวนทรวาสุเทพท้าว |ผทมสินธุ์'''
'''|อ่อนอาสน์อุรัคคินทร์ |ค่ำเช้า'''}}
{{บทกวี
'''|ทรงสังข์จักราจิณ |เจนหัตถ์'''
'''|หลับอย่าลืมละเจ้า |ปิ่นไท้ผไทสยาม'''|source=นิราศสรวมครวญ}}
 
:11. เพลงยาวเรื่อง กำนันหลอกพราน
 
:: เพลงยาวเรื่อง '''กำนันหลอกพราน''' <ref>หลวงลิขิตปรีชา, นาน บางขุนพรหม. นิทานคำกลอน, วชิรญาณวิเศษ. 8, 20 (23 กุมภาพันธ์ 111) : 325 - 237.</ref> เป็นนิทานบันเทิงคดีที่หลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ) เจ้ากรมพระอาลักษณ์ ร่วมแต่งกับนายนาน บางขุนพรหม เป็นเพลงยาวมีความยาว 27 บท ไม่ปรากฏปีที่แต่งแน่ชัด เพลงยาวนิทานดังกล่าวถูกตีพิมพ์ครั้งแรกในวารสารวชิรญาณวิเศษ <ref>[http://www.sac.or.th/databases/siamrarebooks/wachirayan/index.php/wachirayan8/722 หนังสือเก่าชาวสยาม, วชิรญาณวิเศษ เล่ม ๘ แผ่น ๑๖ - ๒๐. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) สำนักหอสมุดแห่งชาติ.]</ref> (วารสารที่ออกในนามหอพระสมุดวชิรญาณสำหรับพระบรมราชตระกูล) หมวดนิทานคำกลอน เล่ม 8 แผ่นที่ 20 ฉบับวันพฤหัสบดีที่ 23 กุมภาพันธ์ รัตนโกสินทร์ศก 111 ตรงกับ พ.ศ. 2435 ซึ่ง[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา]] (ขณะนั้นทรงพระอิสริยายศ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิธาดา) ทรงเป็นกรรมสัมปาทิก (คณะบรรณาธิการ) ปีที่ 12 และสภานายกหอพระสมุดวชิรญาณ (ปัจจุบันคือ[[สำนักหอสมุดแห่งชาติ]]) ในขณะนั้น และเพลงยาวเรื่อง กำนันหลอกพราน ถูกตีพิมพ์อีกครั้งในหนังสือ นิทานวชิรญาณ เล่ม 1 <ref>[http://www.literatureandhistory.go.th/index.php?app=academic&fnc=showlist&cateid=2009&apptype=academic1 กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. นิทานวชิรญาณ เล่ม 1 - 2. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2555. 849 หน้า ISBN 978-616-283-002-0.]</ref> เมื่อ พ.ศ. 2555 โดยสำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ [[กรมศิลปากร]]
'''ทรงสังข์จักราจิณ เจนหัตถ์'''
 
'''ตัวอย่างคำประพันธ์'''
'''หลับอย่าลืมละเจ้า ปิ่นไท้ผไทสยาม'''}}
{{บทกวี|indent=1
||นิทานนี้ท่านผู้เถ้าเล่าแถลง
|จริงหรือเท็จอยู่กับคนต้นแสดง |หวังชี้แจงแต่ผู้เขลาเยาว์ปัญญา}}
{{บทกวี
|เปนคติจะช่วยเตือนอย่าเฟือนหลง |เร่งดำรงยั้งใจให้นักหนา
|อันกลลวงหลายอย่างทางพูดจา |ใครเสียทีเสียท่าน่าหัวเราะ|source=กำนันหลอกพราน}}
 
นอกจากนี้ยังได้แต่งตำรับพุทธศาสตร์ '''"ตำรานพรัตน์"''' <ref>ห้องสมุดส่วนตัวรัตนชาติ</ref> <ref>บรมมหาประยุรวงศ์ (ดิศ บุนนาค), สมเด็จเจ้าพระยา, และคณะ. ตำรานพรัตน์. พระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระราชเทวี ทรงแจกในงานทรงบำเพ็ญพระราชกุศล “ฉลองพระชนมายุครบหกสิบพรรษา” วันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2464. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, 2464.</ref> <ref>เอนก นาวิกมูล. เที่ยวชมหนังสือเก่า. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า, 2541. 385 หน้า</ref> ประกอบในตำราไสยศาสตร์ทูนเกล้า ฯ [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] ว่า '''"''วชิรํ รัตตํ อินฺทนีลํ เวฬุริยํ รัตฺตกาฬมิสิสกํ โอทาตปีตมิสสฺกํ นีลํ ปุสฺสราคํ มุตตาหารญจาติ อิมานิ นวากาทีนิ รตนานิ ตฺสมา รตนชาติ โย อเนกวิธา นานาปเทเสสุ อุปปชฺชนตีติ เวทิตฺพพา''"''' ซึ่งท่านร่วมกันสอบตำราพร้อมกับ[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)]] พระมหาวชิรธรรรม หลวงภักดีจินดาและนายชม