ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Manjai25 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
'''ภาวนา''' แปลว่า ''การเจริญ การอบรมหมายถึง การทำให้มีให้ขึ้นเป็น''ขึ้น หมายถึง, การทำจิตใจให้สงบและทำ[[ปัญญา]]ให้ทำให้เกิดขึ้น, ด้วยการฝึกฝนอบรมจิตไปตามแบบที่ท่านกำหนดไว้ ซึ่งเรียกชื่อไปต่างๆ เช่นเจริญ, การบำเพ็ญ[[กรรมฐาน]] การทำ[[สมาธิ]] การเจริญภาวนา การเจริญจิตภาวนา
 
1.การฝึกอบรม ตามหลักพระพุทธศาสนา มี ๒ อย่าง คือ <br />
'''ภาวนา''' ในทางปฏิบัติท่านแบ่งไว้ ๒ แบบใหญ่ๆ คือ
# '''๑.สมถภาวนา''' การฝึกอบรมจิตใจจิตให้เกิดความสงบ ซึ่งได้แก่สมถกรรมฐานนั่นเอง เรียกว่า '''จิตภาวนา'''<br ก็ได้/>
# '''๒.วิปัสสนาภาวนา''' การฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความรู้เข้าใจตามเป็นจริง ซึ่งได้แก่วิปัสสนากรรมฐานนั่นเอง เรียกว่า '''ปัญญาภาวนา''' ก็ได้
 
อีกนัยหนึ่ง จัดเป็น ๒ เหมือนกันคือ <br />
๑.จิตตภาวนา การฝึกอบรมจิตใจให้เจริญงอกงามด้วยคุณธรรม มีความเข้มแข็งมั่นคง เบิกบาน สงบสุขผ่องใส พร้อมด้วยความเพียร สติ และสมาธิ <br />
๒.ปัญญาภาวนา การฝึกอบรมเจริญปัญญา ให้รู้เท่าทันเข้าใจสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง จนมีจิตใจเป็นอิสระ ไม่ถูกครอบงำด้วยกิเลสและความทุกข์
 
2.การเจริญสมถกรรมฐานเพื่อให้เกิดสมาธิ มี ๓ ขั้น คือ <br />
๑.บริกรรมภาวนา ภาวนาขั้นตระเตรียม คือกำหนดอารมณ์กรรมฐาน <br />
๒.อุปจารภาวนา ภาวนาขั้นจวนเจียน คือเกิดอุปจารสมาธิ ๓.อัปปนาภาวนา ภาวนาขั้นแน่วแน่ คือเกิดอัปปนาสมาธิเข้าถึงฌาน
 
3.ในภาษาไทย ความหมายเลือนมาเป็น การท่องบ่นหรือว่าซ้ำๆ ให้ขลัง ก็มี
 
'''ภาวนา''' เป็นบุญอย่างหนึ่ง เรียกว่า[[ภาวนามัย]] คือบุญที่เกิดจากการภาวนา
 
== อ้างอิง ==
* [[พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)]], พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ , หน้า 286-287
{{เริ่มอ้างอิง}}
 
[[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด'', [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
{{จบอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ภาวนา| ]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ภาวนา"