ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎี ณ พัทลุง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
The Bangkok Voices (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ประวัติ: ไม่ได้มีหลักฐานอ้างถึงความโด่งดัง เป็นแค่ประชาสัมพันธ์ข่าว คอนเสิร์ตเท่านั้น~~~
The Bangkok Voices (คุย | ส่วนร่วม)
→‎การทำงานในต่างประเทศ: ขาดข้อมูลอ้างอิง และไม่น่าเชื่อถือ
บรรทัด 32:
ในปี 2549 เขาได้แสดงดนตรี ''[[The Magic Flute]]'' ของ[[ลุดวิก ฟาน เบโทเฟน|เบโทเฟน]]<ref name="nation090410" /><ref name=operastudio>{{cite web |url=http://www.operastudio.nl/engpages/3018patalung.html |title=Trisdee na Patalung |work=Opera Studio Nederland |accessdate=August 21, 2011}}</ref> ซึ่งต่อมาในปี 2551 ''Eternity'' ซิมโฟนีของเขาได้ถูกแสดงใน[[การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์|งานสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]]<ref name="nation122910" /> และถัดมาในปี 2552 เขาได้สร้างผลงานโด่งดังในเทศกาลรอสซินี ที่เมือง[[เปซาโร]]<ref>{{cite news |url=http://www.bangkokpost.com/arts-and-culture/film/17216/ |title=Orchestration of Talents with the Same Tune |newspaper=Bangkok Post |date=May 23, 2009 |accessdate=August 20, 2011}}</ref><ref name="nation122910">{{cite news |url=http://www.nationmultimedia.com/2010/12/29/life/-Genius-with-a-baton-30145401.html |title=Careful of conductor Trisdee na Patalung - his hero is the hilariously wicked Blackadder |newspaper=The Nation |first=Manote |last=Tripathi |date=December 29, 2010 |accessdate=August 20, 2011}}</ref>
 
ในฐานะผู้อำนวยเพลง ทฤษฎีได้ก้าวไปขั้นสูงสุดคือการอำนวยเพลงที่ [[Concertgebouw]] ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นหนึ่งในหอแสดงดนตรีที่สำคัญที่สุดในโลก{{อ้างอิง}} ที่ศิลปินอมตะ เช่น [[Gustav mahler]] และ [[Richard Strauss]] ได้อำนวยเพลง และจัดเป็นคนไทยคนแรกและคนเดียวที่ได้รับเกียรตินี้ {{อ้างอิง}}ช่วงปี พ.ศ. 2552-2554 ทฤษฎีได้รับเชิญจาก [[Nationale Reisopera]] (Dutch National Touring Opera) ไปอำนวยเพลงในมหาอุปรากรของ [[Rossini]] เรื่อง [[La Cenerentola]] (ซินเดอเรลลา) ใน 12 เมืองทั่วประเทศเนเธอร์แลนด์ และยังได้รับเชิญกลับไปอำนวยเพลงในเทศกาล [[Rossini Opera Festival]] ณ เมือง [[Pesaro]] ประเทศอิตาลีในปี 2552 และ 2553 จึงถือเป็นวาทยกรรับเชิญที่อายุน้อยที่สุดในเทศกาลเป็นเวลา 2 ปีซ้อน{{อ้างอิง}}
== การทำงานในต่างประเทศ ==
ในฐานะผู้อำนวยเพลง ทฤษฎีได้ก้าวไปขั้นสูงสุดคือการอำนวยเพลงที่ [[Concertgebouw]] ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นหนึ่งในหอแสดงดนตรีที่สำคัญที่สุดในโลก{{อ้างอิง}} ที่ศิลปินอมตะ เช่น [[Gustav mahler]] และ [[Richard Strauss]] ได้อำนวยเพลง และจัดเป็นคนไทยคนแรกและคนเดียวที่ได้รับเกียรตินี้ {{อ้างอิง}}ช่วงปี พ.ศ. 2552-2554 ทฤษฎีได้รับเชิญจาก [[Nationale Reisopera]] (Dutch National Touring Opera) ไปอำนวยเพลงในมหาอุปรากรของ [[Rossini]] เรื่อง [[La Cenerentola]] (ซินเดอเรลลา) ใน 12 เมืองทั่วประเทศเนเธอร์แลนด์ และยังได้รับเชิญกลับไปอำนวยเพลงในเทศกาล [[Rossini Opera Festival]] ณ เมือง [[Pesaro]] ประเทศอิตาลีในปี 2552 และ 2553 จึงถือเป็นวาทยกรรับเชิญที่อายุน้อยที่สุดในเทศกาลเป็นเวลา 2 ปีซ้อน{{อ้างอิง}}
 
มีโอกาสประพันธ์เพลง Eternity (นิรันดร์) คีตาลัยถวายแด่ [[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]]<ref name="thairath">[http://www.thairath.co.th/content/life/337804 เส้นทางฝัน ของ วาทยกรหนุ่ม ทฤษฎี ณ พัทลุง]</ref> ซึ่งเพลงดังกล่าวได้นำไปบันทึกเสียงในชุด "ประโคมเพลง ประเลงถวาย" เป็นของที่ระลึก{{อ้างอิง}} และบรรเลงในงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ ณ ท้องสนามหลวง{{อ้างอิง}} และเมื่อ[[สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี]] ทรงเจริญพระชนมายุ 7 รอบ ทฤษฎีได้ประพันธ์เพลง "พระหน่อนาถ" เฉลิมพระขวัญ โดยนำบทกล่อมในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมาบรรจุทำนองสากล<ref name="thairath"/> ออกอากาศทางช่องโมเดิร์นไนน์ทีวี