ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกออร์ค คันทอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Robosorne (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=300px}}
{{Infobox scientist
| name = เกออร์ก คันทอร์<br />
Georg Cantor
| image = Georg Cantor2.jpg
บรรทัด 8:
| birth_name = เกออร์ก แฟร์ดินันด์ ลุดวิก ฟิลิพพ์ คันทอร์ <br />
(Georg Ferdinand Ludwig Philipp Cantor)
| birth_date = {{Birth date|1845|3|3}}
| birth_place = [[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก]], {{flag|จักรวรรดิรัสเซีย}}
| death_date = {{Death date and age|1918|1|6|1845|3|3}}
| death_place = [[ฮัลเลอ]] (Halle (Saale) ), [[รัฐซัคเซิน]] (Province of Saxony) , {{flag|จักรวรรดิเยอรมัน}}
| residence = {{flag|จักรวรรดิรัสเซีย}} (1845–1856), <br>{{flag|จักรวรรดิเยอรมัน}} (1856–1918)
| citizenship =
| ethnicity =
| field = [[คณิตศาสตร์]]
| work_institutions = [[:en:University of Halle|University of Halle]]
| alma_mater = [[สถาบันเทคโนโลยีสวิส ซูริค]] (ETH Zurich) , [[มหาวิทยาลัยฮุมโบลด์ทแห่งเบอร์ลิน]] (University of Berlin)
| doctoral_advisor = [[:en:Ernst Kummer|Ernst Kummer]]<br>[[คาร์ล ไวแยร์สตราสส์]] <ref name = "Mathematics Genealogy Project">[http://www.genealogy.ams.org/id.php?id=29561 Georg Ferdinand Ludwig Philipp Cantor's Mathematics Genealogy]</ref>
| doctoral_students = Alfred Barneck<ref name = "Mathematics Genealogy Project"></ref>
| known_for = [[ทฤษฎีเซต]]
| religion = [[ลูเทอแรน]]
| prizes =
}}
'''เกออร์ก แฟร์ดินันด์ ลุดวิก ฟิลิพพ์ คันทอร์''' ({{lang-en|Georg Ferdinand Ludwig Philipp Cantor}} , [[3 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1845]] [[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก]] [[จักรวรรดิรัสเซีย]] – [[6 มกราคม]] [[ค.ศ. 1918]]) เป็น[[นักคณิตศาสตร์]] เกิดในประเทศรัสเซีย แต่ใช้ชีวิตอยู่ในเยอรมนี มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในนามของผู้บัญญัติ[[ทฤษฎีเซต]]ยุคใหม่ โดยได้ขยายขอบเขตของทฤษฎีเซตให้ครอบคลุมแนวคิดของ[[จำนวนเชิงอนันต์]] (transfinite or infinite numbers) ทั้ง[[จำนวนเชิงการนับ]]และ[[จำนวนเชิงอันดับที่]] นอกจากนี้ คันทอร์ยังเป็นที่รู้จักจากผลงานในเรื่อง การแทน[[ฟังก์ชัน]]ด้วย[[อนุกรมตรีโกณมิติ]] ที่เป็นเอกลักษณ์ (unique representation of functions by means of trigonometric series) ซึ่งเป็นภาคขยายของ[[อนุกรมฟูรีเย]]
== ประวัติ ==
==ประวัติ<ref>วัชรพงษ์ โขวิฑูรกิจ ,ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้าขั้นสูง, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 (ISBN 974-13-2533-9) หน้า 35-36</ref>==
บิดาของ คันทอร์ มีชื่อว่า จอร์จ วอลด์มาร์ คันทอร์ (George Waldemar Cantor) เป็นพ่อค้า[[เดนมาร์ก|ชาวเดนมาร์ก]] ที่ประสบความสำเร็จทางการค้าใน[[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก]] มารดาเป็นชาวรัสเซีย มีชื่อว่า Maria Anna Bohm เมื่อ คันทอร์มีอายุได้ 11 ปี ครอบครัวของเขาจึ่งย้ายไปเยอรมนี ในวัยเรียน คันทอร์เป็นเด็กที่มีผลการเรียนในระดับดีเยี่ยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวิชา[[ตรีโกณมิติ]] ต่อมาได้เข้าศึกษาต่อใน Höherem Gewerbeschule แห่งเมื่องดามชตัดท์ และ ในปี ค.ศ. 1862 ย้ายไป [[สถาบันเทคโนโลยีสวิส ซูริค]] (Polytechnic of Zurich) ที่ซึ่งเขาเลือกเรียนทางด้าน[[วิศวกรรมศาสตร์]]ตามความต้องการของบิดา และภายหลังจึงย้ายมาเรียนคณิตศาสตร์ตามความชอบของตนแทน ต่อมาเมือบิดาเสียชีวิตลง คันทอร์ จึงย้ายมาเรียนที่ [[มหาวิทยาลัยฮุมโบลด์ทแห่งเบอร์ลิน]] (University of Berlin) จนสำเร็จการศึกษาในปี ค.ศ. 1867 โดยมีหัวข้อวิทยานิพนธ์ทางด้าน[[ทฤษฎีจำนวน]] หลังจากสำเร็จการศึกษาแล้ว จึงเป็นครูสอนคณิตศาสตร์ในโรงเรียนและย้ายมาเป็นอาจารย์ประจำที่ Halle university ในปี ค.ศ. 1869
 
ขณะเป็นอาจารย์ที่ Halle university นี้เอง คันทอร์ได้รับอิทธิผลของไฮเนซึ่งเป็นอาจารย์อาวุโสประจำมหาวิทยาลัย ทำให้คันทอร์เริ่มเปลี่ยนความสนใจจาก ทฤษฎีจำนวน ไปเป็น [[คณิตวิเคราะห์]] ในปี ค.ศ. 1873 คันทอร์มีผลงานชิ้นสำคัญคือ การพิสูจน์ว่า เซตของจำนวนตรรกยะเป็นเซตนับได้ และในปลายปีเดียวกัน ก็สามารถพิสูจน์ได้ว่า เซตของจำนวนจริงเป็นเซตที่นับไม่ได้ ซึ่งผลงานทั้งสองนี้ได้รับการตีพิมพ์ในปีถัดมา ในผลงานดังกล่าว คันทอร์ ยังได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับ การสมนัยแบบหนึ่งต่อหนึ่งของสมาชิกในเซต เป็นครั้งแรกอีกด้วย ในช่วงปี ค.ศ. 1879 - ค.ศ. 1884 คันทอร์ได้ตีพิมพ์ผลงานที่สำคัญต่อการพัฒนา[[ทฤษฎีเซต]]อย่างมากถึงหกฉบับลงในวารสาร Mathematische Annalen แต่ถูกนักคณิตศาสตร์บางคนในสมัยนั้นต่อต้าน เพราะมีแนวคิดที่แปลกใหม่จนเกินไป การโจมตีผลงานของคันทอร์ได้ส่งผลกระทบทางจิตใจของคันทอร์ในเวลาต่อมา
 
ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1884 คันทอร์ เริ่มมีอาการซึ่มเศร้า และมีอาการเรื้อรังเรื่อยมา จนทำให้เขาเริ่มหันไปสนใจปรัชญาและวรรณคดี ในขณะที่ก็ยังมีผลงานทางด้านคณิตศาสตร์อยู่ นับจากปี ค.ศ. 1899 เป็นต้นมาอาการป่วยของคันทอร์ก็หนักลงเรื่อยๆเรื่อย ๆ จนต้องลาจากการสอนเป็นระยะเพื่อรักษาตัว ในปี ค.ศ. 1911 คันทอร์ได้รับเกียรติในฐานะนักวิชาการต่างชาติไปร่วมงานเฉลิมฉลอง 500 ปี ของ [[มหาวิทยาลัยเซนต์แอนดรูส์]] (University of St. Andrews) แห่ง[[สก็อตแลนด์]] จากนั้นอีกปีหนึ่ง คันทอร์ก็ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยนี้เช่นกัน แต่ก้ไม่สามารถเดินทางไปรับได้เนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพ คันทอร์เกษียณในปี ค.ศ. 1913 และมีอาการป่วยเรื้อรังตลอดเวลา ในปี ค.ศ. 1915 University of Halle มีแผนจะจัดงานฉลองอายุครบ 70 ให้แก่คันทอร์ แต่ก้ต้องยกเลิกเพราะเกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง คันทอร์เสียชีวิตเมื่อ 6 มกราคม ค.ศ. 1918 ที่ประเทศเยอรมนี ด้วยอาการหัวใจวาย รวมอายุได้ 72 ปี
 
[[ดาฟิด ฮิลแบร์ท]] ได้กล่าวยกย่อง คันทอร์ไว้ว่า
{{คำพูด| (คันทอร์) เป็นส่วนผสมที่ลงตัวระหว่างอัจฉริยะทางคณิตศาสตร์และความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ของกิจกรรมทางภูมิปัญญาของมนุษย์อันบริสุทธิ <br />
... the finest product of mathmatical genius and one of the supreme achievements of purely intellectual haman acivity.|ดาฟิด ฮิลแบร์ท}}
 
บรรทัด 43:
* [[การอ้างเหตุผลแนวทแยงของคันทอร์]]
* [[ฟังก์ชันคันทอร์]]
<br clear="all">
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
{{birth|1845}}{{death|1918}}
==ประวัติ<ref>* วัชรพงษ์ โขวิฑูรกิจ , ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้าขั้นสูง, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546, หน้า 35-36. (ISBN 974-13-2533-9) หน้า 35-36</ref>==
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{จบอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
[http://www.archive.org/details/contributionstot003626mbp Contributions to the Founding of the Theory of Transfinite Numbers โดย เกออร์ก คันทอร์ ฉบับภาษาอังกฤษ]
{{เรียงลำดับ|กเกออร์ก คันทอร์}}
{{โครงชีวประวัติ}}
 
{{เรียงลำดับ|กเกออร์กกเออร์ก คันทอร์}}
{{birth|1845}}{{death|1918}}
[[หมวดหมู่:นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน]]
{{โครงชีวประวัติ}}
 
{{Link FA|en}}
{{Link FA|sl}}