ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคม่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Palmy U-U (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
 
ผู้ป่วยที่อยู่ในอาการโคม่าจะยังถือว่ามีชีวิต เพียงแต่จะสูญเสียความสามารถที่จะตอบโต้กับสิ่งแวดล้อมตามปกติไป สาเหตุส่วนใหญ่เกิดขึ้นภายหลังการกระทบกระเทือนที่ศีรษะ นอกจากนั้นก็อาจเป็นผลต่อเนื่องจากโรคอื่นได้ เช่น การติดเชื้อในสมอง เลือดออกในสมอง [[ไตวาย]]ขั้นรุนแรง น้ำตายในเลือดต่ำ สมองขาดออกซิเจน เป็นต้น<ref>[http://www.neuro.or.th/tha/detail.php?id=169 โคม่า คืออะไร]. วิทยาลัยประสาทศัลยแพทย์แห่งประเทศไท</ref>
==พยากรณ์โรค==
ผู้ป่วยอาจอยู่ในภาวะโคม่าได้นานหลายวันถึงหลายสัปดาห์ บางครั้งหากกรณีรุนแรงอาจอยู่ในภาวะโคม่านานถึงห้าสัปดาห์ มีรายงานผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะโคม่านานหลายปี เมื่อพ้นช่วงนี้ไปแล้วผู้ป่วยบางรายค่อยๆ มีอาการดีขึ้น พ้นจากภาวะโคม่า หรือแย่ลงจนตกอยู่ใน[[สภาพผัก]] หรือเสียชีวิต ผู้ป่วยบางรายอยู่ในสภาพผักนานหลายปีหรือหลายสิบปี (มีรายงานว่าผู้ป่วยอยู่ในสภาพผักนานที่สุด 42 ปี)<ref>Edwarda O’Bara, who spent 4 decades in a coma, dies at 59
 
Read more here: http://www.miamiherald.com/2012/11/22/3109800/edwarda-obara-who-spent-4-decades.html#storylink=cpy</ref>
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โคม่า"