ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วุฒิสภาฝรั่งเศส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 71:
วุฒสิภามีความสำคัญน้อยกว่า[[สภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศส|สภาผู้แทนราษฎร]] เช่นเดียวกับการอภิปรายในวุฒิสภาที่มีความตึงเครียดน้อยกว่า ฉะนั้น วุฒิสภาจึงได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนน้อย
 
==องค์ประกอบและการเลือกตั้ง==
ก่อนเดือนกันยายน ค.ศ. 2004 สมาชิกวุฒิสภาฝรั่งเศสประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด 321 คน โดยดำรงตำแหน่งวาระละ 9 ปี ซึ่งต่อมาได้ถูกปรับลดเหลือเพียง 6 ปี ในขณะที่จำนวนสมาชิกวุฒิสภาได้เพิ่มขึ้นทีละเล็กน้อยจนถึง 348 คนในปีค.ศ. 2011 เพื่อให้สอดคล้องกับจำนวนประชากร<ref>http://www.senat.fr/lng/en/index.html</ref> ในอดีตการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาจะมีขึ้นทุกๆ 3 ปีโดยเลือกตั้งทีละหนึ่งในสามของสมาชิกทั้งหมด ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนเป็นครึ่งหนึ่งของสมาชิกทั้งหมดในทุกๆ 3 ปี<ref>{{cite web|url=http://www.senat.fr/role/fiche/groupespol.html |title=Les groupes politiques |publisher=Senat.fr |date=13 January 2011 |accessdate=21 April 2011}}</ref>
 
การได้มาของสมาชิกวุฒิสภาจะผ่าน[[การเลือกตั้งทางอ้อม]] โดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ({{lang-fr|grands électeurs}} จำนวนประมาณ 150,000 คน ซึ่งเป็นข้าราชการจากหน่วยงานปกครองต่างๆ ได้แก่ สมาชิกสภาภาค, สมาชิกสภาจังหวัด นายกเทศมนตรี สมาชิกเทศบาลในเมืองขนาดใหญ่ รวมทั้ง[[สภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศส|สภาผู้แทนราษฎร]] อย่างไรก็ตาม 90% ของผู้มีสิทธิเลือกตั้งเป็นผู้แทนที่เลือกโดยสมาชิกสภาที่ปรึกษาต่างๆ ซึ่งเป็นการทำให้วุฒิสภานั้นมักจะออกเสียงเข้าข้างบริเวณที่ห่างไกลความเจริญ
 
ในขณะที่พรรคการเมืองที่มีเสียงนำใน[[สภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศส|สภาผู้แทนราษฎร]]มักจะเปลี่ยนพรรคได้อยู่เสมอ แต่วุฒิสภามักจะไม่ค่อยพบการเปลี่ยนแปลงมากนักนับตั้งแต่ยุคเริ่มต้นของ[[สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5]] ซึ่งมักจะนำโดยสมาชิก[[พรรคสังคมนิยม (ฝรั่งเศส)|พรรคสังคมนิยม]]<ref>Gilles Le Béguec, ''[http://www.cairn.info/revue-parlements-2006-2-page-57.htm Les socialistes et le Sénat]'', Parlement[s], Revue d'histoire politique, n° 6 2006/2, pp. 57–72, [[L'Harmattan]], ISBN 2-200-92116-3 {{Please check ISBN|reason=Check digit (3) does not correspond to calculated figure.}}</ref> จนกระทั่งเมื่อการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาครั้งล่าสุดในปีค.ศ. 2009<ref>{{cite web|url=http://www.liberation.fr/politiques/010132156-senat-le-triomphe-de-l-anomalie |title=Sénat, le triomphe de l’anomalie – Libération |work=Libération |location=France |date=25 September 2008 |accessdate=21 April 2011}}</ref> ถึงแม้ว่าพรรคฝ่ายซ้ายอย่าง[[พรรคสังคมนิยม (ฝรั่งเศส)|พรรคสังคมนิยม]]ซึ่งเคยเป็นเสียงข้างมากมาตลอดจากการชนะการเลือกตั้งของภาคต่างๆในฝรั่งเศส (ยกเว้นเพียงสองภาค) รวมทั้งเมืองใหญ่และเล็กส่วนใหญ่ซึ่งถือเป็นเสียงมากกว่า 50% ของประชากรทั้งหมด ยังไม่สามารถได้เสียงข้างมากในครั้งนี้ นอกจากนี้วุฒิสภายังถูกครหาว่าเป็นสถานที่ลี้ภัยของ[[สภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศส|สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ซึ่งสอบตกจากการเลือกตั้งทั่วไป
 
ชาวฝรั่งเศสที่พักอาศัยอยู่นอกประเทศหรือเขตการปกครองของประเทศฝรั่งเศสมีผู้แทนในวุฒิสภาจำนวน 12 คน<ref>{{cite web|author=S&eacute;nat fran&ccedil;ais |url=http://www.senat.fr/listes/senateurs_representant_les_francais_etablis_hors_de_france.html |title=Sénateurs représentant les Français établis hors de France – Sénat |publisher=Senat.fr |date= |accessdate=21 April 2011}}</ref>
 
ที่นั่งในสภาถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติมาตั้งแต่การประชุมสภาครั้งแรกในสมัยการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งสมาชิกพรรคฝ่ายซ้ายจะนั่งทางซีกซ้ายของประธานวุฒิสภา และสมาชิกพรรคฝ่ายขวาจะนั่งอยู่ทางซีกขวา
== ดูเพิ่ม ==