ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จอห์น รากัซซินี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Robosorne (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 38:
 
==ผลงาน==
รากัซซินี มีลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงสาขาทฤษฎีระบบควบคุมในเวลาต่อมาหลายคน ได้แก่ [[รูดอล์ฟ อีมิว คาลมาน|รูดอล์ฟ คาลมาน]] ([[:en:Rudolf Kalman|Rudolf Kalman]]) ผู้คิดค้น[[ตัวกรองคานมาน]] ([[:en:Kalman filter|Kalman filter]]) และเป็นผู้นำเสนอ[[ทฤษฎีระบบควบคุม#แบบจำลองปริภูมิสถานะ|แบบจำลองปริภูมิสถานะ]]มาใช้ในการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบ อันเป็นการนำองค์ความรู้ของ[[ทฤษฎีระบบควบคุม]]ไปสู่ยุคใหม่ ที่เรียกว่า [[ทฤษฎีระบบควบคุม#ทฤษฎีระบบควบคุมสมัยใหม่|ทฤษฎีระบบควบคุมสมัยใหม่]] (modern control theory) และ [[อีไลเอฮู อิมบราแฮม จัวรี่]] ([[:en:Eliahu Ibraham Jury|Eliahu Ibraham Jury]]) ผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนา[[การแปลง Z]] ([[:en:Z-transform|Z-transform]]) และคิดค้น[[การแปลง Z ขั้นสูง]] และ [[ล็อทฟี่ แอสเกอร์ ซาเด็ท]] ([[:en:Lotfi Asker Zadeh|Lotfi Asker Zadeh]]) ผู้คิดค้น[[เซตวิภัชนัย]] (Fuzzy sets) และ [[ตรรกศาสตร์คลุมเครือ]] (Fuzzy logic) โดยในปี ค.ศ. 1952 รากัซซินี และ ซาเด็ท ได้ร่วมกันพัฒนา การแปลง Z สำหรับการประมวลและการวิเคาระห์สัญญาณบนโดนเมนเวลาวิยุต (discrete-time signal processing)
<ref>[http://boole.cs.iastate.edu/book/1-Science/1-ComputerScience/3-Paper/1-AI/AI%20-%20other/%B4%F3%CD%F3%B8%F6%C8%CB%D6%F7%D2%B3/www.cs.berkeley.edu/Zadeh/Lotfi%20Zadeh.htm ชีวประวัติของล็อทฟี่ แอสเกอร์ ซาเด็ท]</ref>