ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดักลาส แมกอาเธอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเนื้อหา
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Douglas MacArthur lands Leyte.jpg|thumb|200px|พลเอกแมกอาร์เธอร์กลับคืนสู่ฟิลิปปินส์ใน[[การรบที่อ่าวเลเต]] หลังจากถอยจากการบุกของญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2]]
 
'''พลเอกดักลาส แมกอาร์เธอร์''' (Douglas MacArthur; [[26 มกราคม]] [[พ.ศ. 2423]] - [[5 เมษายน]] [[พ.ศ. 2507|2507]]) นายทหารบกเป็นจอมพลชาว[[อเมริกัน]] เกิดที่เมืองมีชื่อเสียงในการบัญชาการรบภาคพื้นแปซิกฟิก ในสมัยสงคราม[[ลิตเติลสงครามโลกครั้งที่ ร็อก2]] [[รัฐอาร์คันซอ]] เข้ารับการศึกษาวิชาทหารเป็นผู้บัญชาการผู้ที่ให้ญี่ปุ่นจดสนธิสัญญาพ่ายแพ้ให้กับฝ่ายพันธมิตร ณ เรือประจัญบาน[[โรงเรียนนายร้อยเวสพอยต์ยูเอสเอส มิสซูรี(BB-63)|ยูเอสเอส มิสซูรี]] เข้านอกจากนี้เขายังเป็นทหารบุคคลสำคัญที่กรมทำให้ ญี่ปุ่น พัฒนาอย่างรวดเร็ว และยังเป็นผู้บัญชาการสมัย[[ทหารช่างสงครามเย็น]]เป็นครั้งแรก ใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่งเกาหลี]] ได้เข้าสู่สมรภูมิที่[[ประเทศฝรั่งเศส]]และได้รับ[[เหรียญกล้าหาญ]]อีกด้วย
==ประวัติ==
แมกอาเธอร์ นับว่าเป็นบุคคลที่มีต้นตระกูลทางทหารเรือมาตลอด โดยที่บิดาก็เป็นผู้บัญชาการทหารเรือในยุค 80 หรือแม้แต่ในสมัยสงครามกลางเมือง ตระกูลเพอร์รี่ อย่างเช่น [[โอลิเวอร์ แฮซาร์ด เพอร์รี]] ผู้ที่บัญชาการทัพเรือสหรัฐใน[[ยุทธการทะเลสาบอีรี]]จนชนะ และ [[แมตทิว แคลเบรท เพอร์รี ]]ผู้บัญชาการเรือ ที่สามารถทำให้ญี่ปุ่นในสมัยนั้นที่ปิดประเทศอยู่เปิดประเทศได้ พวกเขาก็ล้วนแล้วแต่เป็นบรรพบุรุษของ แมกอาเธอร์ นับว่าตระกูลของเขาเป็นตระกูลใหญ่ และเกี่ยวข้องกับกองทัพเรือสหรัฐอเมริกาเป็นอย่างมาก แมกอาเธอร์ เกิดที่เมือง[[ลิตเติล ร็อก]] [[รัฐอาร์คันซอ]] เข้ารับการศึกษาวิชาทหารที่[[โรงเรียนนายร้อยเวสพอยต์]] เข้าเป็นทหารที่กรม[[ทหารช่าง]]เป็นครั้งแรก ใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] ได้เข้าสู่สมรภูมิที่[[ประเทศฝรั่งเศส]]และได้รับ[[เหรียญกล้าหาญ]] จำนวนมาก
 
ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] แมกอาร์เธอร์ได้เป็นผู้บัญชาการกองกำลังสหรัฐฯ ในตะวันออกไกลและได้ช่วงชิงพื้นที่[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] ด้านตะวันตกเฉียงใต้จาก[[ประเทศญี่ปุ่น]] (พ.ศ. 2485-2488) โดยใช้[[ประเทศออสเตรเลีย]]เป็นฐาน ถ้อยวลีที่มีชื่อเสียงที่แมกอาเธอร์กล่าวแก่ชาวฟิลิปปินส์ระหว่างถอยหนีกองทัพญี่ปุ่นในฟิลิปปินส์คือ "ข้าพเจ้าจะกลับมา" (I Shall Return) และเมื่อกลับมาตามคำสัญญาหลังการถอยไปตั้งหลักที่ออสเตรเลีย แมกอาเธอร์ได้ประกาศอีกครั้งในขณะที่เดินลุยน้ำลงจากเรือที่[[อ่าวเลย์เต]]ว่า "ข้าพเจ้ากลับมาแล้ว" (I Have Returned) เมื่อวันที่ [[20 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2487]] ซึ่งเป็นภาพถ่ายข่าวสงครามที่ดีที่สุดภาพหนึ่ง