ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาณาจักรมอญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 41:
ส่วนยุคที่ 3 ปี พ.ศ. 1830 "[[มองโกล]]" ยกทัพมาตีพม่า ทำให้มอญได้รับเอกราชอีกครั้ง คือยุคราชวงศ์เมาะตะมะ-พะโค ตั้งอยู่ในพื้นที่พม่าตอนล่างในปัจจุบันเริ่มจากสมัย[[พระเจ้าวารีรู]] หรือ[[พระเจ้าฟ้ารั่ว]] พระองค์มีมเหสีเป็นราชธิดาของ[[พ่อขุนรามคำแหง]] [[กษัตริย์ของไทย]] ต่อมาในสมัย[[พญาอู]] ได้ย้ายราชธานีมาอยู่ ณ เมืองพะโคหรือหงสาวดี ราชบุตรของพระองค์คือพญาน้อย ซึ่งต่อมาก็คือพระเจ้าราชาธิราช ผู้ทำสงครามยาวนานกับ[[กษัตริย์พม่า]]ในสมัย[[พระเจ้าซวาส่อแก]] กับ [[พระเจ้ามีงคอง]](คนไทยเรียกว่า [[พระเจ้าฝรั่งมังฆ้อง]] ในหนังสือเรื่อง [[ราชาธิราช]]) ขุนพลสำคัญของพระเจ้าราชาธิราช ก็คือ [[สมิงพระราม]] [[ละกูนเอง]] [[และแอมูน-ทยา]] รุ่งเรืองสูงสุดในสมัย[[พระนางเชงสอบู]] และสิ้นสุดอาณาจักรในรัชสมัย [[พระเจ้าสมิงสอตุด]] ซึ่งถูก[[พระเจ้าบุเรงนอง]]สำเร็จโทษ ในฐานปลงพระชนม์[[พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้]]ในปี [[พ.ศ. 2094]]
 
ยุคที่สามยุคฟื้นฟู([[Restored Hanthawaddy Kingdom]]) พ.ศ. 2283]] [[สมิงทอพุทธิเกศ]] ก็กู้เอกราชคืน มาจากพม่าได้สำเร็จ และได้ยกทัพไปตีเมือง[[อังวะ]]อีกด้วย ในปี [[พ.ศ. 2290]] [[พระยาทะละ]] ได้ครองอำนาจแทนสมิงทอพุทธิเกศ ขยายอาณาเขตอย่างกว้างขวาง ทำให้[[อาณาจักรพม่า]]สลายตัวลง จนในปี [[พ.ศ. 2300]] [[พระเจ้าอลองพญา]] ก็กู้อิสรภาพของพม่ากลับคืนมาได้ ทั้งยังได้โจมตีมอญ กษัตริย์องค์สุดท้ายของมอญคือ [[พระเจ้าพญามองธิราช]] มอญตกอยู่ภายใต้อำนาจพม่า จนกระทั่งทุกวันนี้
 
''ดูบทความเพิ่มเติมที่ [[ชาวมอญ]]''