ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระวรสารนักบุญมาระโก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต: แก้ไขจาก vi:Phúc âm Mark ไปเป็น vi:Phúc Âm Mark
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{โครงศาสนาคริสต์}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
'''พระวรสารนักบุญมาระโก''' (ศัพท์คาทอลิก) หรือ '''พระกิตติคุณมาระโก''' (ศัพท์โปรเตสแตนต์) ({{lang-en|Gospel of Mark}}) เป็นเอกสารในชุด [[พระวรสารวรสารในสารบบ]] ของ[[คัมภีร์ไบเบิล|พระคริสตธรรมคัมภีร์]] ภาค[[พันธสัญญาใหม่]] และเป็นพระวรสารหนึ่งใน “[[พระวรสารสหทรรศน์]]” สามฉบับ
 
เขียนโดยผู้เขียนไม่บอกได้ระบุนาม ของตนเองไว้<ref>Stephen L Harris, Understanding the Bible. Palo Alto: Mayfield. 1985.</ref> แต่เชื่อกันทั่วไปว่าเขียนโดย [[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐนิพนธ์พระวรสาร]] ซึ่งเป็นบุตรชายของมารีรีย์<ref>กิจการของอัครทูต 12:12</ref> ([ที่ไม่ใช่พระแม่[[มารีย์ (มารดาพระเยซู)]]] และเป็นลูกพี่ลูกน้องกับบารนาบัส <ref>โคโลสี 4:10</ref> [[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]ได้ร่วมเดินทางกับเปาโลและ[[บารนาบัสรนาบัส]]ในการเดินทาง เพื่อทำ[[การประกาศข่าวประเสริฐดี]]ครั้งแรก เปาโลกล่าวถึง[[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]ในฐานะของเพื่อนในกรุงโรมและยกย่องการรับใช้ของเขาเป็นอย่างสูง เชื่อกันว่า ในสี่ของบรรดา “[[พระวรสารวรสารในสารบบ]]” ทั้งสี่เล่ม '''พระวรสารนักบุญมาระโก''' ถูกเขียนขึ้นเป็น[[พระวรสาร]]ฉบับแรก ในช่วงก่อนสงครามกลางเมืองในกรุงโรม เพราะฉะนั้นพระธรรมหนังสือเล่มนี้น่าจะถูกเขียนในราว ค.ศ.55
เป็นหนึ่งในสี่ของ “[[พระวรสาร]]” และเป็นพระวรสารหนึ่งในสามของ “[[พระวรสารสหทรรศน์]]”
 
[[ศาสนาคริสต์ยุคแรก|คริสตจักรในยุคแรก]]มีความเห็นตรงกันว่า เนื้อหาในพระธรรมหนังสือเล่มนี้ถอดแบบมาจากคำสอนของเปโตร โดยเน้นที่การบันทึกข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น จากลีลาการเขียนแสดงถึงการเขียนขึ้นอย่างเร่งรีบ ไม่ถูกผ่านการขัดเกลาให้สละสลวย ทำให้ผู้อ่านรู้สึกว่า หลายเหตุการณ์เกิดขึ้นอย่างฉับพลันทันที การกระทำต่างๆต่าง ๆ ที่ได้บันทึกไว้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งสังเกตได้จากคำว่า "ในทันใดนั้น" ถูกใช้มากกว่า 40 ครั้ง แม้ว่า '''พระวรสารนักบุญมาระโก''' จะมีความยาวน้อยที่สุดในบรรดาพระวรสารทั้งสี่เล่ม แต่ในบางเหตุการณ์กลับถูกบันทึกไว้โดยละเอียด นอกจากนี้ ยังมีบางบทที่ได้อธิบายถึงขนบธรรมเนียมของชาวยิวไว้ด้วย เพื่อให้ผู้อ่านชาวโรมันจะเข้าใจได้
เขียนโดยผู้ไม่บอกนาม <ref>Stephen L Harris, Understanding the Bible. Palo Alto: Mayfield. 1985.</ref> แต่เชื่อกันทั่วไปว่าเขียนโดย [[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]] ซึ่งเป็นบุตรชายของมารี<ref>กิจการของอัครทูต 12:12</ref> (ที่ไม่ใช่พระแม่มารีย์) และเป็นลูกพี่ลูกน้องกับบารนาบัส <ref>โคโลสี 4:10</ref> [[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]ได้ร่วมเดินทางกับเปาโลและบารนาบัสในการเดินทาง เพื่อประกาศข่าวประเสริฐครั้งแรก เปาโลกล่าวถึง[[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]ในฐานะของเพื่อนในกรุงโรมและยกย่องการรับใช้ของเขาเป็นอย่างสูง เชื่อกันว่า ในสี่ของ “[[พระวรสาร]]” '''พระวรสารนักบุญมาระโก''' ถูกเขียนขึ้นเป็น[[พระวรสาร]]แรก ในช่วงก่อนสงครามกลางเมืองในกรุงโรม เพราะฉะนั้นพระธรรมเล่มนี้น่าจะถูกเขียนในราวค.ศ.55
 
วัตถุประสงค์ของ '''พระวรสารนักบุญมาระโก''' มีอยู่ 4 ประการ โดยประการแรกสำคัญที่สุดคือ [[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]ต้องการให้ผู้อ่านทราบว่า พระกิตติคุณ[[ข่าวดี (ศาสนาคริสต์)|ข่าวดี]]คืออะไร นั่นคือการที่พระเยซูสิ้นพระชนม์เพื่อไถ่บาปของเรา ถูกฝังไว้แล้วเป็นขึ้นมาอีกครั้ง ดังนั้น[[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]จึงให้ความสำคัญของเรื่องราวตั้งแต่การสิ้นพระชนม์ จนถึง[[การฟื้นคืนพระชนม์ของพระเยซู]]มากกว่าเรื่องอื่น พระธรรมหนังสือเล่มนี้มีทั้งหมด 16 บท ใน 10 บทแรก บันทึกเรื่องราวตั้งแต่พระเยซูรับบัพติศมา จนถึงเสด็จเข้ากรุงเยรูซาเล็ม ซึ่งเป็นระยะเวลาประมาณ 3 ปี ในขณะที่อีก 6 บทที่เหลือ เป็นการบันทึกเรื่องราวช่วงสุดท้ายของชีวิตพระเยซู ซึ่งเป็นระยะเวลาเพียงแค่สัปดาห์เดียว แสดงให้เห็นว่า[[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]ต้องการเน้นว่า พระกิตติคุณข่าวดีคือหัวใจของพระธรรมหนังสือเล่มนี้
คริสตจักรในยุคแรกมีความเห็นตรงกันว่า เนื้อหาในพระธรรมเล่มนี้ถอดแบบมาจากคำสอนของเปโตร โดยเน้นที่การบันทึกข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น จากลีลาการเขียนแสดงถึงการเขียนขึ้นอย่างเร่งรีบ ไม่ถูกผ่านการขัดเกลาให้สละสลวย ทำให้ผู้อ่านรู้สึกว่า หลายเหตุการณ์เกิดขึ้นอย่างฉับพลันทันที การกระทำต่างๆที่ได้บันทึกไว้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งสังเกตได้จากคำว่า "ในทันใดนั้น" ถูกใช้มากกว่า 40 ครั้ง แม้ว่า '''พระวรสารนักบุญมาระโก''' จะมีความยาวน้อยที่สุดในบรรดาพระวรสารทั้งสี่เล่ม แต่ในบางเหตุการณ์กลับถูกบันทึกไว้โดยละเอียด นอกจากนี้ ยังมีบางบทที่ได้อธิบายถึงขนบธรรมเนียมของชาวยิวไว้ด้วย เพื่อให้ผู้อ่านชาวโรมันจะเข้าใจได้
 
ประการที่สองที่[[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]ต้องการกล่าวคือ แม้ว่าพระเยซูเป็นคือ[[พระบุตรของพระเจ้าพระเป็นเจ้า]] แต่พระเยซูทรงเป็นมนุษย์ พระองค์มีความรู้สึกเหน็ดเหนื่อย หิวโหย อ่อนล้า ฯลฯ เหมือนกับมนุษย์ พระเยซูจึงทรงเป็นแบบอย่างในการตอบสนองต่อความรู้สึกต่างๆต่าง ๆ ดังนั้นในฐานะของคริสเตียน[[คริสต์ศาสนิกชน]] ทุกคนควรเรียนรู้จากพระองค์และตอบสนองด้วยท่าทีอย่างเดียวกัน
วัตถุประสงค์ของ '''พระวรสารนักบุญมาระโก''' มีอยู่ 4 ประการ โดยประการแรกสำคัญที่สุดคือ [[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]ต้องการให้ผู้อ่านทราบว่า พระกิตติคุณคืออะไร นั่นคือการที่พระเยซูสิ้นพระชนม์เพื่อไถ่บาปของเรา ถูกฝังไว้แล้วเป็นขึ้นมาอีกครั้ง ดังนั้น[[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]จึงให้ความสำคัญของเรื่องราวตั้งแต่การสิ้นพระชนม์ จนถึงการฟื้นคืนพระชนม์ของพระเยซูมากกว่าเรื่องอื่น พระธรรมเล่มนี้มีทั้งหมด 16 บท ใน 10 บทแรก บันทึกเรื่องราวตั้งแต่พระเยซูรับบัพติศมา จนถึงเสด็จเข้ากรุงเยรูซาเล็ม ซึ่งเป็นระยะเวลาประมาณ 3 ปี ในขณะที่อีก 6 บทที่เหลือ เป็นการบันทึกเรื่องราวช่วงสุดท้ายของชีวิตพระเยซู ซึ่งเป็นระยะเวลาเพียงแค่สัปดาห์เดียว แสดงให้เห็นว่า[[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]ต้องการเน้นว่า พระกิตติคุณคือหัวใจของพระธรรมเล่มนี้
 
ประการที่สาม [[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]เขียนเพื่อหนุนใจคริสเตียนที่ถูกกดขี่ข่มเหง เมื่อพระเยซูทรงยืนหยัดในขณะที่ถูกต่อต้าน จะเป็นกำลังใจให้กับคริสเตียนที่อยู่ในภาวะเดียวกันได้
ประการที่สองที่[[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]ต้องการกล่าวคือ แม้ว่าพระเยซูเป็นพระบุตรของพระเจ้า แต่พระเยซูทรงเป็นมนุษย์ พระองค์มีความรู้สึกเหน็ดเหนื่อย หิวโหย อ่อนล้า ฯลฯ เหมือนกับมนุษย์ พระเยซูจึงทรงเป็นแบบอย่างในการตอบสนองต่อความรู้สึกต่างๆ ดังนั้นในฐานะของคริสเตียน ทุกคนควรเรียนรู้จากพระองค์และตอบสนองด้วยท่าทีอย่างเดียวกัน
 
ประการสุดท้าย [[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]ต้องการให้ผู้อ่านทราบถึงฤทธิ์อำนาจของพระเยซู ซึ่งมีชัยชนะเหนือผี โรคร้าย และความตายได้
ประการที่สาม [[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]เขียนเพื่อหนุนใจคริสเตียนที่ถูกกดขี่ข่มเหง เมื่อพระเยซูทรงยืนหยัดในขณะที่ถูกต่อต้าน จะเป็นกำลังใจให้กับคริสเตียนที่อยู่ในภาวะเดียวกันได้
 
ประการสุดท้าย [[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]ต้องการให้ผู้อ่านทราบถึงฤทธิ์อำนาจของพระเยซู ซึ่งมีชัยชนะเหนือผี โรคร้าย และความตายได้
 
'''พระวรสารนักบุญมาระโก''' ใช้ “มาระโก” หรือ “มก” ในการอ้างอิง
เส้น 23 ⟶ 21:
2. การปรนนิบัติของ[[พระเยซู]] 1:14 - 9:1
 
3. การ[[พระเยซูทรงจำแลงพระกาย]]และไปเยรูซาเล็ม 9:2 - 10:52
 
4. สัปดาห์สุดท้ายของ[[พระเยซู]] 11:1 - 15:47
 
5. [[การคืนพระชนม์ของ[[พระเยซู]] 16:1 - 20
 
 
== อ้างอิง ==
* Thai Holy Bible, Thailand Bible Society, 1998
 
* Walter A. Elwell, The Pocket Bible Handbook, Harold Shaw Publisher, 1997
Thai Holy Bible, Thailand Bible Society, 1998
 
Walter A. Elwell, The Pocket Bible Handbook, Harold Shaw Publisher, 1997
 
{{รายการอ้างอิง}}
 
เส้น 41 ⟶ 36:
* [[พันธสัญญาใหม่]]
* [[พระวรสาร]]
* [[ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่าน]]
* [[อีแวนเจลลิสทั้งสี่]]
* [[มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐนิพนธ์พระวรสาร]]
 
{{คัมภีร์ไบเบิล}}
{{โครงศาสนาคริสต์}}
 
[[หมวดหมู่:พันธสัญญาใหม่พระวรสารในสารบบ|ม]]
{{โครงศาสนาคริสต์}}
 
{{Link GA|pl}}