ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล คณะในมหาวิทยาลัย
| ชื่อ = คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ <br> มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ <br>วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ <br>จังหวัดสกลนคร
| ภาพ =
| ชื่อไทย = คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ <br> มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
| ชื่ออังกฤษ = Faculty of Science and Engineering <br>Kasetsart University ,<br>Chalermphrakiat Sakon Nakron Province Campus
| วันที่ก่อตั้ง = 8 มิถุนายน 2543
| คณบดี = ผศ.ศิริวัฒน์ พูนวศิน
| สีประจำคณะ =
| สัญลักษณ์คณะ =
| วารสารคณะ =
| ที่อยู่ = 59 ม.1 ต.เชียงเครือ อ.เมือง จ.สกลนคร 47000
| เว็บ = [http://fscieng.csc.ku.ac.th/ fscieng.csc.ku.ac.th]
}}
'''คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์''' เป็นหน่วยงานภายในระดับคณะตามประกาศสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยไม่แบ่งส่วนราชการ ทำการสอนด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์
== ประวัติ ==
เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงครองสิริราชสมบัติ เป็นปีที่ 50 กอปรกับเพื่อเป็นการสนองนโยบายของรัฐบาลในการขยายโอกาสทางการศึกษาไปสู่ภูมิภาคของประเทศในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 ( 2535-3539 ) และฉบับที่ 8 ( 2540-2544 ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับทบวงมหาวิทยาลัยและหน่วยงานภาครัฐบาลและเอกชน ภายในจังหวัดสกลนคร จัดทำโครงการจัดตั้ง “ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสกลนคร ” ขึ้นเป็นวิทยาเขตสารสนเทศ <ref>http://fscieng.csc.ku.ac.th/~fse/index.php?option=com_content&task=section&id=15&Itemid=82</ref>
 
ตามที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ทำโครงการจัดตั้งวิทยาเขตเพื่อจัดการเรียนการสอนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยตั้งอยู่ที่สนามบินเก่า บ้านเชียงเครือ อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 19 กิโลเมตร ตามเส้นทางหมายเลข 22 (สกลนคร-นครพนม) บนเนื้อที่วิทยาเขต 4,000 ไร่ หนองหารน้อย 700 ไร่ เพื่อสนองนโยบายของรัฐบาล ในการกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาสู่ภูมิภาคของ ประเทศไทย และพัฒนาให้จังหวัดสกลนครเป็นศูนย์กลางด้าน การศึกษาของภูมิภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนบน โดยจัดให้มีคณะวิชาจัดการเรียนการสอนด้านอุตสาหกรรมการเกษตร และธรรมชาติสิ่งแวดล้อม อีกทั้งให้เป็นแหล่งศึกษา ค้นคว้าวิจัย การรวบรวมข้อมูลในการบริการวิชาการด้านเกษตร ด้านวิศวกรรมศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในภูมิภาคอีสานตอนบน เพื่อพัฒนาให้ภูมิภาคแห่งนี้เป็นศูนย์กลางการพัฒนาการเกษตรครบวงจรที่ก้าวหน้า อุตสาหกรรมเกษตร และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของภูมิภาคอินโดจีน
 
 
บรรทัด 38:
* วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
* วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม
* วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (เปิดการสอน พ.ศ. 2547)
* วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์ (เปิดการสอน พ.ศ. 2553<ref> http://fscieng.csc.ku.ac.th/~sc/appchem/curriculum/appchem.pdf</ref>
 
=== สำหรับนิสิตภาคพิเศษ ===
บรรทัด 45:
* วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
* วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม
* วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (เปิดการสอน พ.ศ. 2552)
 
== อ้างอิง ==