ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสลายให้อนุภาคบีตา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
{{ฟิสิกส์นิวเคลียร์}}
ใน[[ฟิสิกส์นิวเคลียร์]], '''การสลายให้อนุภาคบีตา''' ({{lang-en|beta decay}}) เป็นรูปแบบหนึ่งของ[[การสลายตัวของสารกัมมันตรังสี]]ที่[[อนุภาคบีตา]] ([[อิเล็กตรอน]]หรือ[[โพซิตรอน]]) ถูกปลดปล่อยออกมา ในกรณีปลดปล่อยอิเล็กตรอน จะเป็น ''บีตาลบ'' (<math>{\beta}^-</math>) ขณะที่ในกรณีปลดปล่อยโพซิตรอนจะเป็น ''บีตาบวก'' (<math>{\beta}^+</math>) [[พลังงานจลน์]]ของอนุภาคบีตามีพิสัยสเปกตรัมต่อเนื่องจาก 0 ถึงค่าสูงสุดที่จะเป็นไป (''[[Q values|Q]]'') ซึ่งขึ้นกับสภาวะนิวเคลียร์ของต้นกำเนิดและลูกที่เกี่ยวข้องกับการสลาย โดยทั่วไป ''Q'' มีค่าประมาณ 1 [[อิเล็กตรอนโวลต์|MeV]] แต่สามารถมีพิสัยจากสองสาม keV ไปจนถึง สิบ MeV อนุภาคบีตากระตุ้นส่วนใหญ่มีความเร็วสูงมากเป็นซึ่งมีความเร็วใกล้เคียง[[อัตราเร็วของแสง]]
 
== การสลาย {\beta}^- ==
บรรทัด 27:
</math>
 
การสลาย <math>{\beta}^+</math> ไม่เหมือนกับการสลาย <math>{\beta}^-</math> เนื่องจากการสลาย <math>{\beta}^+</math> ไม่สามารถเกิดขึ้นในการแตกตัวได้ เพราะมันต้องการพลังงาน มวลของนิวตรอนจะมีพลังงานมากกว่าโปรตอน การสลาย <math>{\beta}^+</math> สามารถเกิดขึ้นได้ภายในนิวเคลียสเท่านั้น เมื่อปริมาณของ[[พลังงานยึดเหนี่ยว]]ของนิวเคลียสสูงกว่านิวเคลียสลูก ความแตกต่างของพลังงานทำให้เกิดปฏิกิริยาเปลี่ยนโปรตอนไปเป็นนิวตรอน โพซิตรอน และ นิวตริโน และกลายเป็นพลังงานจลล์ของอนุภาคนั้น
 
== อ้างอิง ==