ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |สำหรับ= |ดูที่=การปฏิรูปศาสนา |เปลี่ยนทาง=}}
[[ไฟล์:Martin Luther by Lucas Cranach der Ältere.jpeg|thumb|250px|มาร์ติน ลูเทอร์]]
'''การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์''' ({{lang-en|Protestant Reformation}}) คือขบวนการ[[การปฏิรูปศาสนา]]ที่เริ่มโดย [[มาร์ติน ลูเทอร์]] เมื่อปี ค.ศ. 1517 เพื่อแก้ไขความเสื่อมโทรมของ[[คริสตจักร]][[โรมันคาทอลิก]] และ[[พระสันตะปาปา|สถาบันสันตะปาปา]] มาเสร็จสิ้นลงด้วย[[สนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย ค.ศ. 1648]]<ref name="Simon-120-121">{{cite book |first=Edith |last=Simon |title=Great Ages of Man: The Reformation |pages=pp. 120-121 |publisher=Time-Life Books |year=1966 |isbn=0662278208}}</ref> ผลจากการปฏิรูปคือการแยกตัวจากนิกายคาทอลิกมาเป็นนิกาย[[โปรเตสแตนต์]]
 
== เหตุการณ์ก่อนการปฏิรูป ==
บรรทัด 11:
## อีราสมัส (Desiderius Erasmus ค.ศ. 1466-1563) แปลพระคัมภีร์ฉบับกรีกเพื่อเผยแพร่ทั่วไป
## บิชอปซิเมเนส (Ximenes) เป็นผู้ควบคุมจัดทำคัมภีร์ไบเบิลฉบับสมรวม (The Polyglot Bible)
# ในช่วงศตวรรษที่ 14 เรื่อยมา มีการดึงอำนาจที่กระจัดกระจายในหมู่ขุนนางศักดินา กลับคืนสู่ราชบัลลังก์ โดยได้รับความช่วยเหลือของกลุ่มชนใหม่ที่มีภูมิกำเนิดนอกสังคมขุนนางศักดินา คือกลุ่มชนที่มีพลังเศรษฐกิจและมีความรู้ความสามารถอันเป็นผลจากความสำเร็จของครอบครัวทางการค้า หรืออุตสาหกรรม กลายเป็นสังคมรัฐประชาชาติ มีการต่อสู้ช่วงชิงอำนาจทางการเมืองภายในรัฐ ระหว่างรัฐในยุโรปกับสถาบันสันตะปาปา กลุ่มชนใหม่เหล่านี้ให้การสนับสนุนต่อประมุขการเมืองของรัฐปราบปรามบรรดาขุนนางศักดินาภายในรัฐ และต่อต้านสถาบันสันตะปาปาจากภายนอก กลุ่มชนใหม่นี้เรียกว่าชนชั้นกลางซึ่งประกอบด้วยกลุ่มพ่อค้า นักธุรกิจ นายธนาคาร และกลุ่มผู้มีการศึกษา
# สันตะปาปาในระยะศตวรรษที่ 15-16 ให้ความสำคัญในการประกอบภารกิจทางศาสนาน้อยมาก มีการหมกมุ่นในทางโลกและละเลยหน้าที่รับผิดชอบทางธรรมและพระวินัย มีการขายใบไถ่บาป (Sale of Indulgence) และการบูชา[[เรลิก]]ของนักบุญอย่างงมงาย มีการซื้อขายตำแหน่งสมณศักดิ์ มีการอุดหนุนบุคคลในครอบครัวให้ได้รับตำแหน่งสำคัญใน[[ศาสนา]] เช่น [[สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6]] (ค.ศ. 1492-1503) แห่งสกุลเบอร์เจีย พยายามจะสร้างฐานะมั่นคงทางโลก และทรัพย์สินแก่ลูกชายลูกสาวอย่างลับ ๆ โดยลูกชายคนสำคัญคือ ซีซาเร เบอร์เจีย (ค.ศ. 1476-1507) และให้เมียลับแต่งตัวเป็นชายร่วมขบวนแห่เฉลิมพระเกียรติของพระองค์
# ในสภา[[สังคายนาแห่งคอนสแตนซ์]] (The Constance Council) ค.ศ. 1417 ภายในการนำของจักรพรรดิซิกิสมุนด์ (Sigismund ค.ศ. 1410-1437) เปิดเผยหลักฐานที่เชื่อถือได้ว่าเอกสาร "บรรณาการของคอนสแตนติน" เป็นเอกสารปลอมที่สถาบันสันตะปาปาจัดทำขึ้นในศตวรรษที่ 8 ทำให้อำนาจของคริสตจักรยิ่งเสื่อและสูญเสียความนิยม มีกลุ่มคนเช่น จอห์น ไวคลิฟฟ์ (John Wyclyffe ค.ศ. 1320-1384) จอห์น ฮัส (John Huss ค.ศ. 1369-1415) และ เวสเซล (Wessl ค.ศ. 1420-1489) โจมตีคริสตจักรจากภายในเพื่อรื้อฟื้นให้คริสตจักรกลับเป็นผู้เผยแพร่คำสอนที่แท้จริง ซึ่งถึงแม้จะไม่ประสบความสำเร็จ แต่มีผลที่ทำให้คนในยุโรปในศตวรรษที่ 15 กล้าก้าวออกมาจากความงมงายของคำสอนที่แหลกเหลว และเคร่งครัดในยุคกลาง ตลอดจนการทำลายบทบาทของคริสตจักร ในฐานะอุปสรรคสำคัญของความก้าวหน้าทางด้านศิลปะวิทยาการ และความคิดที่มีเหตุผล
 
บรรทัด 31:
== ผลของการปฏิรูปศาสนา ==
;ทางการเมือง
: การปฏิรูปศาสนาได้ทำให้พวกที่ไม่ต้องการระเบียบแบบแผน และพวกที่มีความคิดเห็นรุนแรงทางศาสนาก่อการจลาจลวุ่นวายขึ้นเรียกว่า”กบฏชาวนา”ในปี ค.ศ. 1525 ที่โบฮีเมีย มีทั้งกลุ่มอัศวินต่อสู้กับเจ้านายของตน และพวกชาวนาที่ก่อการปฏิวัติต่อเจ้าของที่ดินโดยต่างยื่นข้อเสนอเรียกร้องสิทธิของตน และกำหนดกฎเกณฑ์เอาตามใจชอบ บ้างก็ขอเสรีภาพในการถือศาสนา ดังนั้นลูเทอร์จึงได้ลุกขึ้นมาสอนให้ประชาชนเคารพประมุข และกฎหมายของรัฐ และต่อต้านการจลาจล โดยถือว่าประมุขของรัฐมีอำนาจอันชอบธรรมในสายตาของศาสนา ที่จะดำเนินการเด็ดขาดกับขบวนการเหล่านี้ เพราะฉะนั้นคำสอนของลักธิลูเทอรันส่งเสริมอำนาจชนชั้นปกครอง
 
;ทางศาสนา
เกิดการปฏิรูปศาสนาไปทั่วยุโรปโดยแบ่งออกเป็น
* แยกนิกายเป็น โปรเตสแตนต์และโรมันคาทอลิก
* การปฏิรูปภายในนิกายโรมันคาทอลิกเอง เช่น เกิด[[คณะเยสุอิต]] (The Jesuits) ที่เน้นการศึกษาวิทยาการใหม่เพื่อปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม สภา[[สังคายนาแห่งเทรนต์]] (1545-1563) ซึ่งต้องการแก้ไขข้อติดเตียนของขบวนการปฏิรูปศาสนาโปรเตสแตนต์ทั้งหมด แต่ยังเชื่อว่าสิทธิอำนาจมาจากพระคัมภีร์และขนบธรรมเนียมต่าง ๆ ที่คริสตจักรได้รับสืบทอดมาจากเปโตร และยอมรับอำนาจของสันตะปาปาว่ายังมีอยู่ ผลการปฏิรูปนิกายโรมันคาทอลิก ทำให้สามารถป้องการการขยายตัวของความนิยมในนิกายโปรเตสแตนต์อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ว่าสันตะปาปาต้องเสียอำนาจในยุโรปไปมาก แต่ก็ยังสามารถรักษาอิทธิพลทางจิตใจเหนือประชากรจำนวนมากของโลกตะวันตกไว้ได้ และสามารถฟื้นฟูความศักดิ์สิทธิของโรมได้จนถึงปัจจุบัน
 
== อ้างอิง ==