ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงทางการแพทย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: sr:Ultrazvuk
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 7:
เพื่อดูลักษณะทั่วๆไป ของ[[ตับ]] [[ตับอ่อน]] [[ม้าม]] [[ถุงน้ำดี]] [[ท่อน้ำดี]] และ[[ไต]] เช่น มีก้อนเนื้อที่ผิดปกติ มีนิ่วที่ไตหรือถุงน้ำดี
;การเตรียมตัวก่อนตรวจช่องท้องส่วนบน
: กรณีที่มีการนัดมาทำการตรวจ หมอจะแนะนำให้งดอาหารประมาณ 4 ชั่วโมง ก่อนมาทำการตรวจ เพื่อให้เวลาถุงน้ำดีเก็บกัก[[น้ำดี]] และเพื่อลดปริมาณลมใน[[กระเพาะ]]และ[[ลำไส้]] ซึ่งจะช่วยให้เห็นอวัยวะต่างๆ ได้อย่างชัดเจน
 
=== การตรวจอวัยวะในช่องท้องส่วนล่าง ===
บรรทัด 13:
 
;การเตรียมตัวก่อนตรวจช่องท้องส่วนล่าง
: การตรวจช่องท้องส่วนล่าง จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้มีน้ำปัสสาวะมากๆในกระเพาะปัสสาวะ เพราะน้ำในกระเพาะปัสสาวะจะช่วยดันลำไส้ออกจาก[[ช่องเชิงกราน]] ทำให้เห็นมดลูก รังไข่ ต่อมลูกหมาก และพยาธิสภาพอื่นๆ ได้ดีขึ้น ปริมาณปัสสาวะในกระเพาะที่จะช่วยให้การตรวจสมบูรณ์นั้น มักจะมากกว่าปริมาณที่ทำให้รู้สึกปวด[[ปัสสาวะ]]ในภาวะปกติ จึงต้องดื่มน้ำขณะรอตรวจ เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายกลั่นปัสสาวะเพิ่ม ซึ่งใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 30 นาทีหลังดื่มน้ำ
 
=== การตรวจอัลตร้าซาวด์ในอวัยวะอื่นๆ ===