ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กวี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 2:
{{ย้าย|วิกิพจนานุกรม}}
{{ความหมายอื่น|สำหรับ=กวี ที่เป็นศิลปิน และนักแสดง|ดูที่=กวี ตันจรารักษ์}}
'''กวี''' หมายถึง ผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญในศิลปะการประพันธ์บทร้อยกรองในรูปฉันทลักษณ์อันหมายถึงแบบข้อบังคับสัมผัส วรรคตอน และถ้อยคำให้เรียงร้อยรับกันอย่างเหมาะเจาะไพเราะด้วยจังหวะและน้ำหนักของคำที่กำหนดไว้ โดยทั่วไป อาจจำแนกแบบฉันทลักษณ์ออกเป็น 7 ชนิดด้วยกันคือ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย ลิลิต และกลบท มักใช้คำนี้ในภาษาแบบแผนหรือภาษาการประพันธ์ในวรรณคดีโบราณ และอาจรวมถึงปัจจุบัน โดยปริยาย..หมายถึง ผู้ชำนาญในการประพันธ์ ไม่ว่าจะเป็นบทร้อยกรอง หรือวรรณกรรมในรูปแบบอื่นๆ โดยมีความหมายในเชิงยกย่อง
 
== รากศัพท์ ==
คำว่า '''กวี''' มาจากคำเดิม ใน[[ภาษาบาลี]]และ[[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต]] "กวิ" แปลว่า ผู้คงแก่เรียน ผู้เฉลียวฉลาด ผู้มีปัญญาเปรื่องปราด ผู้ประพันธ์กาพย์กลอน และแปลอย่างอื่น ได้อีก โดยมีรากศัพท์ จาก "กุ" หรือ "กู" [[ธาตุศัพท์|ธาตุ]] แปลว่า "เสียง, ทำให้เกิดเสียง, ''ร้อง'', ร้องระงม, คราง, ร้องเหมือนเสียงนก หรือเสียงแมลงผึ้ง"
<br/><br/>
 
บรรทัด 12:
# '''จินตกวี''' หมายถึง กวีที่แต่งโดยความคิดของตนได้แก่ วรรณคดีประเภทที่เกิดจากจินตนาการของผู้แต่งหรือกวีเอง เช่น เรื่อง[[พระอภัยมณี]] ของ[[สุนทรภู่]] เรื่อง[[มัทนะพาธา]] ของ[[รัชกาลที่ 6]] เรื่อง[[เห็นแก่ลูก]]ของ "พระขรรค์เพชร" เป็นต้น
# '''สุตกวี''' หมายถึง กวีที่แต่งโดยได้ฟังมา ได้แก่ เรื่องที่แต่งตามที่เล่าสืบกันมา อาทิ [[เสือโคคำฉันท์]] และ [[สมุทรโฆษคำฉันท์]] เป็นต้น
# '''อรรถกวี''' คือ กวีที่แต่งตามความจริง ได้แก่ เรื่องที่แต่งตามเหตุการณ์หรือหลักความเป็นจริง เช่น เรื่อง [[ลิลิตยวนพ่าย]]และ[[ลิลิตตะเลงพ่าย]] เป็นต้น
# '''ปฏิภาณกวี''' คือ กวีที่แต่งบทกวีได้สดๆ ทันทีโดยไม่ต้องเตรียมมาก่อนได้แก่ เรื่องที่แต่งด้วยไหวพริบที่คิดขึ้นเองโดยทันทีทันใด เช่น โคลงที่[[ศรีปราชญ์]]พูดกับนายประตู เป็นต้น
<br/>
บรรทัด 22:
== คำศัพท์ที่เกี่ยวกับกวี ==
* [[กวีนิพนธ์]]
* '''กวีวัจนะ''' หรือ '''กวีวจนะ'''
* [[คีตกวี]]
* [[บทกวี]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กวี"