ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษาปามีร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 3:
สมาชิกของกลุ่มภาษาปามีร์รวมทั้ง[[ภาษาซุกนี]] ภาษาซาริโกลี [[ภาษายัซกุลยัม]] [[ภาษามุนจี]] [[ภาษาซังเลชิ-อิสกาซมี]] [[ภาษาวาคี]]และ[[ภาษายิดคา]] ทั้งหมดนี้เป็นกลุ่มภาษาอิหร่านใต้ และเรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา
 
[[ภาษาบุลการ์]]ที่เป็นภาษาของบรรพบุรุษของ[[ชาวบัลแกเรีย]] เชื่อว่าเป็นกลุ่มภาษาปามีร์ แม้ว่าส่วนใหญ่จะจัดเป็น[[กลุ่มภาษาเตอร์กิก]] ชาวบุลการ์อพยพไปยัง[[คาบสมุทรบอลข่าน]]ในพุทธศตวรรษที่ 12 รวมเข้ากับกลุ่มชนที่พูดภาษาสลาฟ และพัฒนาภาษาใหม่ที่เป็น[[กลุ่มภาษาสลาฟใต้]] ซึ่งคือ[[ภาษาบัลแกเรีย]]ในปัจจุบัน
 
== กลุ่มซุกนี-ยัซกุลามี ==
 
ภาษาซุกนี ภาษาซาริโกลี และภาษายัซกุลยามจัดเป็นสาขาย่อยซุกนี-ยัซกุลามี มีผู้พูด 75,000 ในอัฟกานิสถาน และทาจิกิสถาน ใน พ.ศ. 2525 มีผู้พูดภาษาซาริโกลีอีกราว 20,000 คน ใน[[หุบเขาซาริโกล]] [[มณฑลซินเจียง]] ประเทศจีน ภาษาซุกนีและภาษาซาริโกลีไม่สามารถเข้าใจกันได้ ใน พ.ศ. 2537 มีผู้พูดภาษายัซกุลยาม 4000 คนตามแนว[[แม่น้ำยัซกุลยาม]]ในทาจิกิสถาน ภาษานี้ไม่มีระบบการเขียน
 
== ภาษามุนจี ==
บรรทัด 29:
มีผู้พูดตามแนว[[แม่น้ำวันจี]]ในเขตปกครองตนเองโกร์โน-บาดักซานในทาจิกิสถาน เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 24 ดินแดนนี้ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของ[[เอมิเรตส์บูคาราน]] และมีการต่อต้านอย่างรุนแรง ในที่สุด[[ภาษาวันจี]]ได้สูญหายไป
== อ้างอิง ==
* Payne, John, "Pamir languages" in ''Compendium Linguarum Iranicarum'', ed. Schmitt (1989), 417-444.
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.ling.su.se/staff/ljuba/maps/tajikistan.gif Ethnolinguistic map of Tajikistan]
* [http://www.angelfire.com/sd/tajikistanupdate/ishstory.html Ishkashimi story with English translation]
* [http://www.angelfire.com/sd/tajikistanupdate/isheng.html Ishkashimi-English Vocabulary List, also featuring words from other Pamir languages added for comparison]
* [http://www.angelfire.com/sd/tajikistanupdate/engpamirlanguages.html English-Ishkashimi- Zebaki-Wakhi-Yazghulami Vocabulary]
* [http://www.angelfire.com/sd/tajikistanupdate/yazghulami.html A Short List of Yazghulami Words]
{{อินโด-อิหร่าน}}
[[หมวดหมู่:ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน]]