ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมหลวงเทวินทรสุดา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 15:
|}}
 
'''กรมหลวงเทวินทรสุดา''' เป็นสมเด็จพระน้านางเธอใน[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] มีนามเดิมว่า '''อั๋น''' หรือ '''ฮั้น'''<ref name="ส่อน"/> สันนิษฐานว่าเป็นธิดาของขุนนางในรัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]]<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ|ชื่อหนังสือ=ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช|URL=|จังหวัด=กรุงเทพ|พิมพ์ที่=สำนักพิมพ์บรรณกิจ|ปี= พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2544
| ISBN = 974-222-648-2|หน้า=หน้าที่|จำนวนหน้า=490}}</ref> เป็นน้องสาวของ คุณนกเอี้ยง (ต่อมาคือ [[กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)|กรมพระเทพามาตย์]] พระราชชนนีของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี) สันนิษฐานว่าพระองค์อาจมีเชื้อสายจีนแซ่โหงว<ref name="นก">สุทธิศักดิ์ ระบอบ สุขสุวานนท์. สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี "ลูกจีนกู้ชาติ" ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย. ใน''ศิลปวัฒนธรรม.'', หน้า 104</ref> และมีถิ่นฐานเดิมอยู่[[อำเภอบ้านแหลม|บ้านแหลม]] เขต[[จังหวัดเพชรบุรี]]<ref name="เอี้ยง">สุทธิศักดิ์ ระบอบ สุขสุวานนท์. สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี "ลูกจีนกู้ชาติ" ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย. ใน''ศิลปวัฒนธรรม.'', หน้า 105</ref> และได้อพยพเข้ามาพำนักอยู่ในกรุงศรีอยุธยาเป็นเวลาช้านาน<ref name="เอี้ยง"/> เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติแล้ว ได้ทรงสถาปนาคุณอั๋น ขึ้นทรงกรมเป็น '''กรมหลวงเทวินทรสุดา'''
 
เมื่อเกิดการผลัดแผ่นดินสิ้นรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระองค์ได้รับโปรดเกล้าฯ ลดพระยศเป็น "หม่อมอั๋น" ด้วยทรงเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายหญิงก็จึงต้องโทษจองจำไว้ ขณะที่พระบรมวงศานุวงศ์ที่เป็นชายมักถูกประหารพร้อมกับขุนนาง<ref>ปรามินทร์ เครือทอง. ''กบฏเจ้าฟ้าเหม็น''. พิมพ์ครั้งที่ 3 (ปรับปรุง). กรุงเทพฯ:มติชน. 2555, หน้า 61</ref> ดังปรากฏในพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา ความว่า
บรรทัด 22:
<blockquote>"ยังเหลืออยู่แต่พระราชบุตร และบุตรีน้อย ๆ มี[[สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์ กรมขุนกษัตรานุชิต|เจ้าฟ้าสุพันธุวงศ์]] [เจ้าฟ้าเหม็น] อันเป็นพระราชนัดดาของพระองค์นั้นเป็นต้น และเจ้าฮั้น [กรมหลวงเทวินทรสุดา] ซึ่งเป็นน้าของเจ้าตากสิน และ[[สมเด็จพระอัครมเหสี กรมหลวงบาทบริจา|เจ้าส่อนหอกลาง]]ซึ่งเป็นกรมหลวงบาทบริจาอัครมเหสี กับญาติวงศ์ซึ่งเป็นหญิงนั้นให้จำไว้ทั้งสิ้น"<ref name="ส่อน">''พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา.'' คลังวิทยา. 2516, หน้า 452</ref></blockquote>
 
หลังจากการผลัดแผ่นดิน ทรงดำรงพระชนม์อย่างสงบสุขในธนบุรีนั้นเอง ซึ่งยังมีผู้คอยอุปถัมภ์ค้ำชูอยู่ซึ่งหนึ่งในนั้นก็คือ [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี]] พระเชษฐภคินีพระองค์ใหญ่ใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] ด้วยมีความสนิทสนมคุ้นเคย<ref>[http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetail.asp?stcolumnid=1406&stissueid=2482&stcolcatid=2&stauthorid=13 สมเด็จพระพี่นางพระองค์ใหญ่] [[จุลลดา ภักดีภูมินทร์]]. '''นิตยสารสกุลไทย'''. ฉบับที่ 2482 ปีที่ 48 ประจำวันอังคารที่ 14 พฤษภาคม 2545</ref>
 
== อ้างอิง ==