ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คามิกาเซะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "คิวชู" → "คีวชู" ด้วยสจห.
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 14:
หน่วยโจมตีพิเศษคะมิกะเซะนี้ มี 4 หน่วยย่อย คือ''หน่วยชิคิชิมา (Shikishima), หน่วยยามาโตะ (Yamato), หน่วยอาซาฮิ (Asahi) และ หน่วยยามาซาคูรา (Yamazakura)''ชื่อของ หน่วยย่อยเหล่านี้ นำมาจากบทกวีเกี่ยวกับความรักชาติ ซึ่งประพันธ์ โดยนักปราชญ์ยุคคลาสสิก ของญี่ปุ่น ชื่อ [[โมโตริ โนรินากะ]]
 
หลักฐานเกี่ยวกับการโจมตีครั้งแรกของคะมิกะเซะที่เชื่อถือได้จากรายงานโดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งเป็นที่ยอมรับของหลาย ๆ ฝ่าย คือ การโจมตีเรือลาดตระเวนหนัก ของออสเตรเลีย ชื่อ HMAS Australia เมื่อวันที่ [[21 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2487]] ถูกเครื่องบินญี่ปุ่น บรรทุก[[ระเบิด]]หนัก 200 กิโลกรัม (หรือ 441 ปอนด์) พุ่งเข้าชนกลางทะเล นอก[[เกาะเลเต]] (Leyte) เครื่องบินลำนี้ปะทะเข้ากับ ส่วนโครงสร้างเหนือดาดฟ้าใหญ่ของเรือ เหนือสะพานเดินเรือ เกิดการระเบิด [[น้ำมัน]]ลุกไหม้และซากปรักหักพังกระจัดกระจาย เป็นวงกว้าง แต่ระเบิดหนัก 200 กิโลกรัมที่ติดมากับเครื่องบิน ไม่เกิดการระเบิด มีคนเสียชีวิตบนเรืออย่างน้อย 30 นาย แต่การโจมตีครั้งนี้ไม่ได้มาจากเครื่องบินคะมิกะเซะของหน่วยโจมตีพิเศษ (special attack unit) ภายใต้การนำของ นาวาโท ทาไม แต่เป็นการปฏิบัติการของนักบินญี่ปุ่นไม่ทราบนาม
 
ในวันที่ [[25 ตุลาคม]] พ.ศ. 2487 ฝูงบินคะมิกะเซะ ซึ่งประกอบด้วย เครื่องบินซีโร่ (Zero) จำนวน 5 ลำ นำโดย เรือโท เซกิ ได้เข้าโจมตี เรือบรรทุกเครื่องบินคุ้มกันของสหรัฐ ฯ ชื่อ USS St. Lo แม้ว่าจะมีเครื่องบิน ซีโร่เพียงลำเดียวที่พุ่งเข้าชนเรือ USS St. Lo ได้สำเร็จ แต่ก็ส่งผลเกินคุ้มระเบิดที่ติดมากับเครื่องบินเกิดระเบิดไฟลุกไหม้ ลุกลามต่อไปยังคลังระเบิดของเรือ USS St. Lo เกิดการระเบิดอย่างรุนแรงจนเรือจม นอกจากนี้เครื่องบินคะมิกะเซะลำอื่น ๆ ได้สร้างความเสียหายให้เรือรบฝ่ายสัมพันธมิตรอีกมากมายนับไม่ถ้วน เนื่องจากเรือรบของสัมพันธมิตรจำนวนมากในยุคนั้น ดาดฟ้าเรือทำด้วยไม้ ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงของไฟจากระเบิดได้เป็นอย่างดีกล่าวได้ว่าเรือบรรทุกเครื่องบิน ของสหรัฐฯในช่วงนั้นตกเป็นเป้าการโจมตีของคะมิกะเซะได้ง่ายกว่าเรือบรรทุกเครื่องบินของ[[อังกฤษ]]ที่มีดาดฟ้าทำด้วย[[เหล็ก]] และเข้าประจำการใน[[กองเรือแปซิฟิกของอังกฤษ]] ในช่วงปี [[พ.ศ. 2488]]
บรรทัด 20:
เรือ HMAS Australia กลับมาร่วมรบได้อีกครั้งในเดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2488 ได้ถูกฝูงบินคะมิกะเซะโจมตีถึงหกครั้ง มีทหารประจำเรือเสียชีวิตถึง 86 นายแต่เรือก็รอดจากการถูกทำลายมาได้ เรือรบของฝ่ายสัมพันธมิตร ลำอื่นๆที่รอดจากการระเบิดและจมลงทะเล แม้จะถูกฝูงบินคะมิกะเซะโจมตีซ้ำหลายครั้งในช่วง สงครามโลกครั้งที่ 2 เช่น เรือบรรทุกเครื่องบินขนาดใหญ่ ชั้น Essex ของสหรัฐ ฯ จำนวน 2 ลำ คือ เรือ USS Intrepid และ USS Franklin
 
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง จากการรายงานของประเทศญี่ปุ่นนักบินทหารเรือ ของ[[ราชนาวี]]ญี่ปุ่นสังเวยชีวิตไปในภารกิจพลีชีพนี้ ถึง 2,525 นายและนักบินพลีชีพคะมิกะเซะ ในส่วนของกองทัพบกญี่ปุ่นเสียชีวิต 1,387 นาย ตามสถิติที่ทางฝ่ายญี่ปุ่นได้บันทึกไว้ เหล่านักบินที่ห้าวหาญนี้จมเรือรบของฝ่ายสัมพันธมิตรไป 81 ลำ และทำความเสียหายให้เรือรบอีก 195 ลำ คะมิกะเซะได้สร้างความสูญเสียให้แก่กองทัพเรือ สหรัฐ ฯ ในการรบทางทะเลฝั่ง[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] ถึง 80 เปอร์เซ็นต์ จากสาเหตุความสูญเสียทั้งหมด
 
แต่จากข้อมูลของฝ่ายสัมพันธมิตร มีเรือรบฝ่ายสัมพันธมิตรจมลงจากการโจมตีของคะมิกะเซะ เพียง 34 ลำ และอีก 288 ลำได้รับความเสียหาย
บรรทัด 26:
== คะมิกะเซะ ในมุมมองของชาวญี่ปุ่นผู้รักชาติ ==
[[ไฟล์:Youngest kamikaze only 17 years old.jpg|160px|right|thumb|จากภาพ 26 พฤษภาคม 1945 ยูคิโอะ อาราคิ (อุ้มลูกสุนัข) ถ่ายรูปกับเพื่อนร่วมฝูงบินก่อนภารกิจพลีชีพเรือสัญชาติอเมริกัน เสียชีวิตด้วยวัย 17 ปี]]
ปฏิบัติการของเหล่านักบินคะมิกะเซะ ที่ดูบ้าบิ่นเกินมนุษย์ในสายตาของชาวตะวันตก แต่[[ชาวญี่ปุ่น]]กลับมีความคิดและความรู้สึกกับหน่วยโจมตีพิเศษนี้ด้วยความต้องการเสียสละ ไม่เคยขาดแคลนอาสาสมัคร นักบินที่จะมาทำงานให้แก่หน่วยโจมตีพิเศษพลีชีพคะมิกะเซะ มีจำนวนคนที่ต้องการจะมาเป็นนักบินพลีชีพ มากกว่าจำนวนเครื่องบินที่มีอยู่ถึงสามเท่า ในการคัดเลือกตัวนักบิน พวกนักบินมากประสบการณ์ต่าง ๆ จะถูกกีดกันออกไป เนื่องจากนักบินเหล่านี้มีคุณค่าใน[[การรบเชิงป้องกัน]] (defensive) และในการฝึกสอนนักบินรุ่นใหม่ ๆ ซึ่งทางกองทัพจะต้องอาศัยนักบินมากประสบการณ์เหล่านี้ในระยะยาว
 
นักบินพลีชีพคะมิกะเซะส่วนใหญ่จะมีอายุอยู่ในช่วง 20 ปี ส่วนมากเป็นนักศึกษาทางด้าน[[วิทยาศาสตร์]]ใน[[มหาวิทยาลัย]] แรงจูงใจที่ทำให้นักศึกษาเหล่านี้เข้าร่วมเป็นนักบินพลีชีพของกองทัพมาจาก [[ความรักชาติ]] (patriotism), ความปรารถนาที่จะนำเกียรติยศมาสู่วงศ์ตระกูลของตนเอง ด้วยการสละชีพเป็นชาติพลี และเพื่อพิสูจน์คุณค่าของความเป็นลูกผู้ชาย ซึ่งกลายเป็นความนิยมรักชาติของวัยรุ่นญี่ปุ่นในขณะนั้น