ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปลุกเสก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{สากล}}
'''การปลุกเสก''' ({{lang-en|incantation}}) คือการกระทำให้สิ่งที่เป็นวัตถุที่กำหนดไว้ให้มีคุณค่าขึ้นมา เช่น การปลุกเสก[[พระเครื่อง]]
 
การปลุกเสกพระเครื่อง เดิมทีเดียวพระเครื่องเป็นวัตถุผสมด้วย ดิน หรือโลหะ หรือธาตุ หรือกระดูกคนตาย หรือสิ่งอื่น และตัวทำแข็ง ทำเหลว ตัวยึดติด อาจเป็นเป็นน้ำมันเหลวแห้งได้ดีเมื่อรมด้วยควันไฟ มีอาทิเช่น ตั่งออิ้วที่มีกลิ่นหอม ยางไม้รมบาตรมาจากประเทศจีนมีราคาแพง หรือนำมันชนิดอื่น หรือการทำด้วยปูนพลาสเตอร์ (ปูนปารีส) ชนิดแห้งไว หรือหล่อด้วย ธาตแข็งชนิดอื่น เช่น [[ทองคำ]] [[ทองเหลือง]] [[ทองแดง]] [[ตะกั่ว]] [[ทองขาว]] เหล็ก อื่น ๆ หรือด้วยพืชวัตถุ สัตว์วัตถุ ธาตุวัตถุต่าง ๆ แล้วนำมาปลุกเสก ๆ เรียกเป็นภาษาราชการว่า ทำ[[พิธีกรรม]] การปลุกเสกแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ พิธีทางราชการ และพิธีไม่ใช่ราชการ ที่ทราบกันดีคือการพุทธาภิเษก หรือภาษาชาวบ้านเรียกว่าการปลุกเสกพระเครื่องรางของขลัง ของมงคล ตามพิธีกรรมที่สิบทอดกันมา หรือทำให้สิ่งธรรมมีชีวิตทางไสยวิทยาขึ้นมา จนเสร็จพิธี ส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ เมื่อเสร็จตามขั้นตอน แบบที่ คติชนวิทยา หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน จะยอมรับว่าสิ่งนั้นศักดิ์สิทธ์ได้ด้วยพิธีกรรมเหล่านี้แล้ว จะปรากฏออกมาในท้องตลาด หรือในสังคมทั้วไปทุกระดับ เช่น[[พระเครื่อง]] [[วัตถุมงคล]] รุ่นต่าง ๆ จากอดีตมาจนถึงปัจจุบัน ดั่งที่ทราบกันว่า บางชนิดเมื่อเสร็จพิธี แล้ว สามารถใช้ป้องกันตัว หรือเก็บพกพาติดตัวเป็นมงคลอื่น ๆ เช่นยิงรันฟันแทงไม่เข้า แคล้วคลาด กันผี บำรุงขวัญ เป็นเสน่ห์ เป็นมงคล เมตตามหานิยม ค้าขายดี มีหลายรูปแบบ ทั้งรูปแบบที่เป็นพระเครื่อง และไม่ไช่พระเครื่อง ที่นิยมปรากฏต่อมหาชนปัจจุบัน เช่น สมเด็จรุ่นแรก [[วัดระฆัง]]