ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การตรวจนับเม็ดเลือดอย่างสมบูรณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ko:기본 혈액 검사
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 2:
'''การตรวจนับเม็ดเลือดอย่างสมบูรณ์''' หรือ '''การตรวจความสมบูรณ์ของเลือด''' ({{lang-en|Complete blood count (CBC); Full blood count (FBC); Full blood exam (FBE)}}) หรือที่นิยมเรียกย่อว่า '''ซีบีซี''' เป็นการทดสอบที่ร้องขอโดยแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญทางด้านการแพทย์อื่น ๆ เพื่อต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับ[[เซลล์เม็ดเลือด]]ของผู้ป่วย ข้อมูลที่ได้อาจเรียกว่า ฮีมาโตแกรม (hemogram)
 
Alexander Vastem เป็นคนแรกที่ใช้การนับจำนวนเม็ดเลือดเพื่อจุดประสงค์ทางการแพทย์{{อ้างอิง}} ค่ามาตรฐานที่ใช้เปรียบเทียบผลของการตรวจเลือดด้วยวิธีนี้มาจากการทดลองทางคลินิกตั้งแต่ ช่วง ค.ศ. 1960
 
เซลล์ที่หมุนเวียนอยู่ในระบบหมุนเวียนโลหิตของร่างกายอาจำแนกออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ [[เม็ดเลือดขาว]] (leukocytes) [[เม็ดเลือดแดง]] (erythrocytes) และ[[เกล็ดเลือด]] (thrombocytes) หากจำนวนเซลล์ที่นับได้มีมากหรือน้อย หรือมีลักษณะที่ผิดปกติออกไปจะเป็นการบ่งชี้อาการของโรคต่างๆ ได้ ดังนั้นการตรวจนับเซลล์ในเลือดจึงเป็นวิธีการที่ใช้กันมากในทางการแพทย์ เพราะให้ข้อมูลกว้างๆ เกี่ยวกับสุขภาพของผู้ป่วยได้ ในบางแห่งมักจะทำการตรวจนับเม็ดเลือดเป็นส่วนหนึ่งของการตรวจสุขภาพประจำปี
บรรทัด 24:
[[ไฟล์:Lymphocyte2.jpg|thumb|right|ภาพจาก[[ฟิล์มเลือด]] ซึ่งสามารถมองเห็นรูปร่างของ[[ลิมโฟไซต์]] [[เม็ดเลือดแดง]]และ[[เกล็ดเลือด]]]]
 
Counting chamber เป็นเครื่องมือสำหรับการตรวจนับจำนวนเดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวในเลือด ส่วนการตรวจแยกชนิดของเซลล์เม็ดเลือดนั้นจะใช้ฟิล์มเลือด โดยจะนับแยกชนิดของเม็ดเลือดขาวภายใต้[[กล้องจุลทรรศน์]]
 
วิธีการตรวจโดยใช้คนนั้นมีข้อดีที่สามารถตรวจหาเซลล์ที่ผิดปกติได้ดีกว่าเครื่องอัตโนมัติ แต่ก็อาจจะพบความคลาดเคลื่อนได้เนื่องจากเป็นการนับเซลล์ที่น้อยกว่าเมื่อเทียบกับเครื่องอัตโนมัติ การตรวจนับเม็ดเลือดอย่างสมบูรณ์ภายใต้กล้องจุลทรรศน์นั้นไม่เพียงแต่สามารถตรวจหาเซลล์ที่ผิดปกติเท่านั้น แต่ยังสามารถตรวจดูความแตกต่างของรูปร่างเม็ดเลือดแดงซึ่งเป็นการวินิจฉัยที่สำคัญอย่างหนึ่ง การตรวจด้วยเครื่องอัตโนมัตินั้นจะมีความรวดเร็ว การตรวจนับจำนวนเซลล์ ขนาดของเม็ดเลือดโดยเฉลี่ย รวมถึงความแตกต่างของขนาดเม็ดเลือดจะมีความน่าเชื่อถือ แต่เครื่องอัตโนมัตินั้นไม่สามารถบอกถึงรูปร่างของเม็ดเลือดได้ รวมถึงอาจพบความผิดพลาดในการคำนวณจำนวนเกล็ดเลือดอันเนื่องมาจาก EDTA นั้นทำให้เกล็ดเลือดเกิดการเกาะกลุ่มกัน (clump) ซึ่งถ้าหากตรวจจำนวนเกล็ดเลือดผ่านทางฟิล์มเลือดนั้นจะมาสามารถเห็นการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือดได้ทำให้สามารถประมาณจำนวนเกล็ดเลือดอย่างคร่าว ๆ ได้ว่ามีจำนวนปกติ ต่ำ หรือสูง แต่ไม่สามารถรายงานจำนวนสุทธิของเกล็ดเลือดได้
บรรทัด 50:
=== เกล็ดเลือด ===
* [[เกล็ดเลือด]] - จำนวนและขนาดของเกล็ดเลือด
* [[Mean platelet volume]] (MPV) - การตรวจวัดขนาดโดยเฉลี่ยของเกล็ดเลือด
 
== การแปลผล ==
 
{| class="wikitable"
! ชนิดของเซลล์ || เพิ่มจำนวน || ลดจำนวน
|-
| '''[[เม็ดเลือดแดง]]''' || [[erythrocytosis]] หรือ [[polycythemia]] || [[anemia]] หรือ [[erythroblastopenia]]
|-
| '''[[เม็ดเลือดขาว]]''': || [[leukocytosis]] || [[leukopenia]]
|-
| - [[ลิมโฟไซต์]] || -- [[lymphocytosis]] || -- [[lymphocytopenia]]
|-
| -- [[แกรนูโลไซต์]]: || -- [[granulocytosis]] || -- [[granulocytopenia]] หรือ [[agranulocytosis]]
|-
| -- --[[นิวโทรฟิล]] || -- --[[neutrophilia]] || -- --[[neutropenia]]
|-
| -- --[[อีโอซิโนฟิล]] || -- --[[eosinophilia]] || -- --[[eosinopenia]]
|-
| -- --[[เบโซฟิล]] || -- --[[basophilia]] || -- --[[basopenia]]
|-
| '''[[เกล็ดเลือด]]''' || [[thrombocytosis]] || [[thrombocytopenia]]
|-
| '''เซลล์ทุกชนิด''' || - || [[pancytopenia]]
|}