ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การกำหนดเพศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: ko:성결정
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 5:
* กำหนดเพศโดย[[โครโมโซมเพศ]] สิ่งมีชีวิตนั้นๆ จะมีโครโมโซมที่ควบคุมลักษณะของเพศโดยเฉพาะ เกิดขึ้นได้ 3 แบบ คือ
** แบบ XO พบในแมลงบางชนิด เพศผู้มี[[โครโมโซม X]] เพียงอันเดียว เพศเมียมีโครโมโซม X 2 อัน
** แบบ XY พบใน[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]โดยทั่วไปและแมลง เช่น [[แมลงหวี่]] ตัวเมียมีโครโมโซมเป็น XX ตัวผู้มีโครโมโซมเป็น XY
** แบบ ZW พบใน[[ผีเสื้อ]] [[นก]] ตัวไหม และ[[ปลา]] ตัวเมียมีโครโมโซมเป็น ZW ตัวผู้มีโครโมโซมเป็น ZZ
* การกำหนดเพศด้วยจำนวนโครโมโซม ใน[[ผึ้ง]] [[มด]] [[ต่อ]] การกำหนดเพศจะกำหนดด้วยจำนวน[[โครโมโซม]] กล่าวคือตัวผู้เกิดจากไข่ที่ไม่ได้รับการผสม มีโครโมโซมชุดเดียว (haploid) ส่วนตัวเมียเกิดจากไข่ที่ได้รับการผสม มีโครโมโซมสองชุด (diploid) แต่โอกาสการเกิดลูกเพศใด ไม่เป็นไปตามกฎของโอกาส เพราะผึ้งนางพญา สามารถเก็บสเปิร์มหลังการผสมพันธุ์ไว้ และเลือกปล่อยมาผสมกับไข่ได้
* การกำหนดโดยยีน ในตัวต่อ นอกจากจะกำหนดเพศด้วยจำนวนโครโมโซมแล้ว ยังกำหนดเพศด้วยยีนอีกด้วย โดยยีนที่กำหนดเพศมี 1 คู่ มี 9 อัลลีล ถ้ายีนนั้นเป็นโฮโมไซกัส เช่น XaXa, XbXb จะเป็นตัวผู้ ถ้าเป็นเฮเทอโรไซกัสเช่น XaXb, XaXc จะเป็นตัวเมีย
== อ้างอิง ==
* {{Cite book|last1=Majerus|first1=M. E. N|title=Sex wars: genes, bacteria, and biased sex ratios
|publisher=Princeton University Press|pages=250|url=http://books.google.com/books?id=vDHOYPQ2mmYC&dq=zo,+zww,+zzww+lepidoptera&source=gbs_navlinks_s|isbn=0691009813|accessdate=November 4, 2011|ref=harv}}