ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กวีนิพนธ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต เพิ่ม: bxr:Ирагуу найраг
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
'''กวีนิพนธ์''' ({{lang-en|Poetry, Poem, Poesy}}) คือรูปแบบทาง[[ศิลปะ]]ที่มนุษย์ใช้[[ภาษา]] เพื่อคุณประโยชน์ด้าน[[สุนทรียศาสตร์|สุนทรียะ]] ซึ่งเพิ่มเติมจากเนื้อหาทางความหมาย นับเป็นส่วนหนึ่งของ[[วรรณกรรม]] โดยเป็นคำประพันธ์ที่[[กวี]]แต่ง<ref>พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542</ref> เป็นงานเขียนที่มีวรรณศิลป์ เร้าให้สะเทือนอารมณ์ได้<ref>สุภาพร มากแจ้ง, กวีนิพนธ์ไทย, โอเดียนสโตร์, 2535.</ref> คำที่มีความหมายทำนองเดียวกันได้แก่ '''ร้อยกรอง''' ซึ่งหมายถึง ถ้อยคำที่เรียบเรียงให้เป็นระเบียบตามบัญญัติแห่ง[[ฉันทลักษณ์ (กวีนิพนธ์ไทย)|ฉันทลักษณ์]]<ref>พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542</ref>
 
นอกจากนี้ยังมีคำอื่น ๆ อีกหลายคำที่มีความหมายทำนองเดียวกับ '''กวีนิพนธ์''' และ'''ร้อยกรอง''' ได้แก่ บทกวี บทประพันธ์ คำประพันธ์ กวีวัจนะ ลำนำ บทกลอน กาพย์กลอน กลอนกานต์ กานต์ รวมทั้งคำว่า ฉันท์ กาพย์ และกลอน ซึ่งในปัจจุบันหมายถึงคำประพันธ์ที่มีรูปแบบต่างกัน ก็เคยใช้ในความหมายเดียวกันกับ '''กวีนิพนธ์''' และ '''ร้อยกรอง''' มาในยุคสมัยหนึ่ง
บรรทัด 18:
== รูปแบบของกวีนิพนธ์ ==
 
แบ่งตามประเภทของกวีและ[[วรรณกรรม]]ที่ปรากฏเป็น 2 รูปแบบ คือ
* กวีนิพนธ์[[ฉันทลักษณ์ (กวีนิพนธ์ไทย)|ฉันทลักษณ์]]
* กวีนิพนธ์ฉันทลักษณ์อิสระ
 
บรรทัด 31:
== กวีนิพนธ์ฉันทลักษณ์อิสระ ==
 
ในช่วงที่การแต่งกลอนประเภทเคร่งฉันทลักษณ์และพราวสัมผัสถึงจุดอิ่มตัว บรรดากวีเริ่มแสวงหารูปแบบคำประพันธ์ใหม่ ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงความจำเจ และสามารถสื่อ '''สาร''' ได้อย่างเสรี ไม่ติดในกรอบฉันทลักษณ์ จึงปรากฏรูปแบบกวีนิพนธ์ที่เรียกกันว่า '''กลอนเปล่า''' หรือ '''กวีนิพนธ์แบบฉันทลักษณ์อิสระ''' กวีนิพนธ์รูปแบบนี้ได้รับความนิยมมากขึ้น และเป็นที่ยอมรับในวงวรรณกรรมของไทยสูงสุด เมื่อหนังสือรวมบทกวี '''ไม่มีหญิงสาวในบทกวี''' ของ [[ซะการีย์ยา อมตยา]] ซึ่งเป็นกวีนิพนธ์ฉันทลักษณ์อิสระ ได้รับการคัดเลือกให้ชนะเลิศ'''[[รางวัลซีไรต์]]''' ในปี [[พ.ศ. 2553]]
 
'''กลอนเปล่า''' เป็นคำประพันธ์ที่พัฒนามาจาก แบลงค์เวอร์ส หรือฟรีเวิร์ส({{lang-en|Blank Verse, Free Verse}}) ของตะวันตก เป็นกลอนในวรรณคดีอังกฤษที่ไม่มีการสัมผัสคำ แต่มีการเน้นเสียงในลักษณะ lambic Pentameter คือ 1 บาท แบ่งเป็น 5 จังหวะ จังหวะละ 2พยางค์ พยางค์แรกเสียงเบา (ลหุ) พยางค์หลังเสียงหนัก (ครุ) กลอนเปล่าได้กลายเป็นองค์ประกอบสำคัญของกวีนิพนธ์ประเภทบรรยายโวหารยาวๆ รวมทั้งงานด้านปรัชญาและการละคร นับตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา<ref>วรา ภรณ์ บำรุงกุล, ร้อยกรอง, ต้นอ้อ, 2542.</ref>
บรรทัด 43:
'''แคนโต้''' จัดเป็นบทกวีประเภทหนึ่ง มีลักษณะเป็นกลอนเปล่า 3 บรรทัด “แคนโต้” เป็นเพียงบทกวีที่ประกอบไปด้วยกลุ่มถ้อยคำสั้นๆ แต่สิ่งที่น่าแปลกก็คือ เมื่อกลุ่มคำเหล่านี้ ถูกจัดเรียงเป็นสามบรรทัดแล้ว กลับเต็มเปี่ยมไปด้วยพลัง เมื่อได้อ่านแคนโต้ของใครผู้ใดก็ตาม เป็นความยาวต่อเนื่องจำนวนมาก คุณจะกลายเป็นผู้ล่วงล้ำ เข้าไปรับรู้ถึงอารมณ์ และห้วงความคิดคำนึงของชีวิตใครผู้หนึ่ง ในลักษณะปะติดปะต่อ และในยามที่คุณเผชิญหน้ากับถ้อยคำสั้นๆ เหล่านั้น คุณจะได้พบกับความหมายบางอย่าง ผ่านความอ่อนไหว จากชีวิตเล็กๆ บนโลกนี้
 
แคนโต้ เป็นบทกวีไทยร่วมสมัย เกิดขึ้นโดยคนไทย มีลักษณะเป็นลูกผสมระหว่างตะวันออกและตะวันตก รูปแบบคล้ายกวีไฮกุของญี่ปุ่น มีความแตกต่างกันเล็กน้อย ตรงที่ไฮกุจะเน้นไปทางการแสวงหาความหลุดพ้น แต่แคนโต้นั้นเดี๋ยวดี เดี๋ยวร้าย
 
ในประเทศไทยมีผู้เขียนบทกวี 3 บรรทัดอยู่บ้างประปราย แต่คนที่นิยาม การรวมกลุ่มของบทกวี 3 บรรทัด ที่มีความยาวต่อเนื่อง 400 บทขึ้นไปว่า “แคนโต้”นั้น คือ [[ฟ้า พูลวรลักษณ์]]
 
จากแคนโต้หมายเลขหนึ่ง <ref>ไทยแคนโต้, http://www.thaicanto.com</ref>
 
บทที่ 1
บรรทัด 69:
{{โครงวรรณกรรม}}
 
[[หมวดหมู่:กวีนิพนธ์| กวีนิพนธ์]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมแบ่งตามประเภท]]