ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษาเตอร์กิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: แก้คำผิด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 6:
== ประวัติ ==
การแพร่กระจายของผู้พูดกลุ่มภาษาภาษาเตอร์กิกแพร่กระจายในบริเวณ[[ยูราเซีย]]จาก[[ตุรกี]]ทางตะวันตกไปจนถึงไซบีเรียทางตะวันออกเฉียงเหนือ<ref>[http://www.ethnologue.com/show_family.asp?subid=90010 Turkic Language tree] entries provide the information on the Turkic-speaking regions.</ref>
[[Imageไฟล์:Altaic family2.svg|left|thumb|300px|การแพร่กระจายของ[[ตระกูลภาษาอัลไตอิก]] จาก [[ยูเรเชีย]] รวม[[ภาษาญี่ปุ่น]]และ [[ภาษาเกาหลี]]]]
=== การบันทึกในยุคแรก ===
บันทึกของกลุ่มภาษาเตอร์กิกเริ่มพบเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 13 โดยเป็นจารึก[[อักษรออร์คอน]]ของ[[ชาวกอกเติร์ก]]เขียนด้วย[[ภาษาเตอร์กิกโบราณ]] ซึ่งค้นพบครั้งแรกเมือ พ.ศ. 2432 ที่[[หุบเขาออร์คอน]]ใน[[มองโกเลีย]] หนังสือ Compendium of the Turkic Dialects ( Divânü Lügati't-Türk) เขียนเมื่อพุทธศตวรรษที่ 16 โดย Kaşgarlı Mahmud ของดินแดนการา-คานิดข่านเป็นเอกสารภาษาศาสตร์ชุดแรกของกลุ่มภาษานี้ซึ่งเน้นที่กลุ่มภาษาตะวันตกเฉียงใต้ หนังสือ Cordex Cumanicus ได้กล่าวถึงสาขาตะวันตกเฉียงเหนือเทียบระหว่าง[[ภาษาเคียปชัก]] กับ[[ภาษาละติน]]ที่ใช้โดยมิชชันนารี[[นิกายโรมันคาทอลิก]]ซึ่งส่งไปยังคูมานที่อยู่ใน[[ฮังการี]]และ[[โรมาเนีย]] บันทึกรุ่นแรกของภาษาของชาวโวลกา บุลกาชิที่กลายมาเป็น[[ภาษาชูวาส]]ในปัจจุบัน เริ่มพบในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18-19
 
== การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์และพัฒนาการ ==
จากการแพร่กระจายของชาวเตอร์กในยุคกลางตอนต้น กลุ่มภาษาเตอร์กิกได้แพร่หลายไปทั่ว[[เอเชียกลาง]] เริ่มจาก[[ไซบีเรีย]] ([[สาธารณรัฐซาคา]]) ไปถึง[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]] (เซลจุกเตอร์ก) หน่วยของกลุ่มภาษาเตอร์กิก ได้แพร่หลายไปเป็นส่วนหนึ่งของ[[ภาษาฮังการี]] [[ภาษาเปอร์เซีย]] [[ภาษาอูรดู]] [[ภาษารัสเซีย]] [[ภาษาจีน]] และ[[ภาษาอาหรับ]]
 
== การจัดจำแนก ==
 
เป็นเวลาหลายศตวรรษที่ผู้พูดกลุ่มภาษาเตอร์กิกได้เคลื่อนย้ายอย่างต่อเนื่อง และได้ติดต่อกับภาษาที่อยู่ใกล้เคียง ทั้ง[[กลุ่มภาษาอิหร่าน]] [[กลุ่มภาษาสลาฟ]] และ[[กลุ่มภาษามองโกเลีย]] โดยทั่วไป กลุ่มภาษาเตอร์กิกแบ่งได้เป็น 6 สาขา คือ
* กลุ่มภาษาตะวันตกเฉียงใต้ หรือ[[กลุ่มภาษาโอคุซ]]
* กลุ่มภาษาตะวันตกเฉียงเหนือ หรือ[[กลุ่มภาษาเคียบชัก]]
* กลุ่มภาษาตะวันออกเฉียงใต้ หรือ[[กลุ่มภาษาอุยกูร์]]
บรรทัด 32:
|
*[[ภาษาเปเชเนก]] <small>(ตายแล้ว)</small>
|-
| colspan="2" bgcolor="#e4e0f0" | กลุ่มภาษาโอคุซตะวันตก
|
บรรทัด 39:
*[[ภาษาอาเซอร์ไบจาน]]
*[[ภาษาตุรกีกากาอุซบอลข่าน]]
|-
| colspan="2" bgcolor="#e4e0f0" | กลุ่มภาษาโอคุซตะวันออก
|
*[[ภาษาเติร์กเมน]]
*[[ภาษาเติร์กโคราซานี]]
|-
| colspan="2" bgcolor="#e4e0f0" | กลุ่มภาษาโอคุซใต้
|
*[[ภาษาอัฟซาร์]]
*สำเนียงของกลุ่มภาษานี้ในอิหร่าน เช่น [[ภาษาควาซไคว]], [[ภาษาซอนโกรี]], [[ภาษาอายนัลลู]]
|-
| rowspan="4" bgcolor="#d6e1ec" style="border-left:none;"| [[กลุ่มภาษาเคียบชาก]]
[[Imageไฟล์:Map-Kypchak Language World.png|100px100px]]
| colspan="2" bgcolor="#d6e1ec" style="border-right:none;"| &nbsp;
|
*[[ภาษาคิบชัก]] <small>(ตายแล้ว)</small>
|-
| colspan="2" bgcolor="#e4e0f0" | กลุ่มภาษาเคียบชากตะวันตก
|
*[[ภาษาคูมึก]]
บรรทัด 64:
*[[ภาษาคูมาน]] <small>(ตายแล้ว)</small>
*[[ภาษาคาไรม์]]
|-
| colspan="2" bgcolor="#e4e0f0" |กลุ่มภาษาเคียบชากเหนือ
|
*[[ภาษาตาตาร์คาร์ซัน]]
บรรทัด 71:
*[[ภาษาบาสเกียร์]]
*[[ภาษาบาราบา]]<ref>Tura, Baraba, Tomsk, Tümen, Ishim, Irtysh, Tobol, Tara, etc. are partly of different origin (Johanson 1998) [http://www.turkiclanguages.com/www/classification.html]</ref>
|-
| colspan="2" bgcolor="#e4e0f0" | กลุ่มภาษาเคียบชากใต้
|
*[[ภาษาคาซัค]]
บรรทัด 79:
* ภาษาอุซเบก เคียบชาก
*[[ภาษาโนไก]]
|-
| rowspan="2" bgcolor="#d6e1ec" | [[กลุ่มภาษาเตอร์กิกตะวันออกเฉียงใต้]]
| colspan="2" bgcolor="#e4e0f0" | ตะวันตก
|
*[[ภาษาอุซเบก]]
|-
| colspan="2" bgcolor="#e4e0f0" | ตะวันออก
|
บรรทัด 95:
*[[ภาษาอายนี]]<ref>Aini contains a very large [[Persian language|Persian]] vocabulary component, and is spoken exclusively by adult men, almost as a [[cryptolect]].</ref>
*[[ภาษาอิลี เตอร์กี]]
|-
| rowspan="5" bgcolor="#d6e1ec" | [[กลุ่มภาษาเตอร์กิกตะวันออกเฉียงเหนือ]]
| colspan="2" bgcolor="#e4e0f0" | กลุ่มภาษาไซบีเรียเหนือ
บรรทัด 101:
*[[ภาษาซาคา]] (ยากุต)
*[[ภาษาโดลกัน]]
|-
| rowspan="4" bgcolor="#e4e0f0" | กลุ่มภาษาไซบีเรียใต้
| bgcolor="#f1e9df" | ภาษาเตอร์กซายัน
|
*[[ภาษาตูวัน]]
*[[ภาษาโตฟา]]
|-
| bgcolor="#f1e9df" | ภาษาเตอร์กเยนิเซย
|
*[[ภาษาคากัส]]
*[[ภาษาฟุยุ-คีร์กิซ]]
*[[ภาษาซอร์]]
|-
| bgcolor="#f1e9df" | ภาษาเตอร์กชูเลียม
|
*[[ภาษาชูเลียม]]
|-
| bgcolor="#f1e9df" | ภาษาเตอร์กอัลไต <ref>[http://www.turkiclanguages.com/www/classification.html Some dialects are close to Kirghiz (Johanson 1998)]</ref>
|
*[[ภาษาอัลไต]] และสำเนียงต่างๆ
|-
| bgcolor="#d6e1ec" | [[ภาษาโอคูร์]]
| colspan="2" bgcolor="#d6e1ec" | &nbsp;
บรรทัด 130:
*[[ภาษาบุลการ์]] <small>(ตายแล้ว)</small>
*[[ภาษาฮั่น]] <small>(ตายแล้ว)</small>
|-
| bgcolor="#d6e1ec" | ภาษาอาร์คู
| colspan="2" bgcolor="#d6e1ec" | &nbsp;
บรรทัด 721:
|style="background-color: #e4e0f0"|Təpə
|style="background-color: #ece0f0"|Depe
|style="background-color: #f1dfe5"|Tübä
|style="background-color: #f1e9df"|Töbe
|style="background-color: #d6e1ec"|Töbö
บรรทัด 941:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*[http://www.umich.edu/~turkish/langres_turkic.html Turkic Languages: Resources - University of Michigan]
*[http://titus.fkidg1.uni-frankfurt.de/didact/karten/turk/turklm.htm Map of Turkic languages]