ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษาคิปชาก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: uz:Qipchoq tillari; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Map-Kypchak Language World.png|300px|right|thumb|การแพร่กระจายของกลุ่มภาษาเคียปชัก]]
'''กลุ่มภาษาเคียปชัก''' (Kypchak languages) หรือกลุ่มภาษาเตอร์กิกตะวันตกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นสาขาหลักของ[[กลุ่มภาษาเตอร์กิก]]ที่มีผู้พูดมากกว่า 12 ล้านคน ในบริเวณตั้งแต่[[ลิธัวเนีย]]ถึง[[จีน]]
 
== ลักษณะทางภาษาศาสตร์ ==
บรรทัด 10:
 
== การจัดจำแนก ==
 
แบ่งได้เป็นสามกลุ่มคือ
* กลุ่มภาษาเคียปชัด-โบลการ์ รวม[[ภาษาบัศกีร์]]และ[[ภาษาตาตาร์]]
* กลุ่มภาษาเคียปชัก-คูมาน รวมทั้ง[[ภาษาการาเชย์-บัลการ์]] [[ภาษาคูเมียก]] [[ภาษาคาเรียม]] [[ภาษาเครียมชัก]]และภาษาที่ตายแล้วอย่าง[[ภาษาคูมาน]] [[ภาษาอูรุม]]และ[[ภาษาตาตาร์ไครเมีย]]มีพื้นฐานของภาษาเคียปชัก-คูมาน แต่ได้รับอิทธิพลจาก[[ภาษาโอคุซ]]มาก
* กลุ่มภาษาคาซัค-โนกาย ได้แก่ [[ภาษาการากัลปัก]] [[ภาษาคาซัค]]และ[[ภาษาโนกาย]] [[ภาษาคีร์กิซ]]ที่เป็นภาษาเขียนได้รับอิทธิพลจากกลุ่มภาษาเคียปชักมากโดยเฉพาะจากภาษาคาซัค แต่ปรากฏว่าภาษานี้อยู่อีกกลุ่มหนึ่ง
[[ภาษาอุซเบกสำเนียงเคียปชัก]]เป็นกลุ่มภาษาเคียปชักที่ครั้งหนึ่งเคยใช้พูดใน[[อุซเบกิสถาน]] และกลายเป็นสำเนียงกลางระหว่าง[[ภาษาอุซเบก]]กับภาษาคาซัค ภาษาของ[[ชาวมัมลุก]]ใน[[อียิปต์]]คล้ายจะเป็นกลุ่มภาษาเคียปชักซึ่งอาจะอยู่ในกลุ่มภาษาเคียปชัก-คูมาน
== อ้างอิง ==