ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ISO 639-2"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: hu:ISO 639-2
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 5:
 
รหัสที่แสดงแทนภาษาต่างๆนี้ ประกอบด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก 3 ตัว โดยที่ตัวอักษรเหล่านั้นไม่จำเป็นต้องเป็นตัวอักษรย่อของ
ภาษานั้นๆแต่สามารถใช้รหัสนั้นในการจำแนกภาษาได้
 
มาตรฐานกลุ่มนี้ประกอบด้วย 2 กลุ่มด้วยกันคือ '''กลุ่มรหัสที่ใช้ในงานบรรณาณุกรม (ISO 639-2/B) ''' หรือ '''รหัสกลุ่ม B''' และ '''กลุ่มรหัสที่ใช้ในงานที่ต้องเกี่ยวกับบัญญัติศัพท์ (ISO 639-2/T) ''' หรือ '''รหัสกลุ่ม T'''
 
โดยมีเงื่อนไขในการจัดรหัสสำหรับงานบรรณาณุกรม หรือ '''รหัสกลุ่ม B''' คือ
* รหัสที่ประเทศเหล่านั้นเลือกใช้
* รหัสที่มีการใช้แล้วในระดับประเทศและนานาชาติ
* ชื่อของภาษานั้นหรือสัญลักษณ์แทนในภาษาอังกฤษแทนภาษานั้นๆ
 
เงื่อนไขในการจัดรหัสสำหรับงานที่ต้องเกี่ยวกับศัพท์บัญญัติเฉพาะทาง หรือ '''รหัสกลุ่ม T''' คือ
บรรทัด 19:
 
โดยการจัดรหัสทั้งสองแบบนี้มีเพียง 23 ภาษาเท่านั้นที่มีรหัสแตกต่างกัน โดยที่ในอนาคตการกำหนดรหัสจะขั้นอยู่กับชื่อแทนของภาษานั้น ยกเว้นแต่กรณีที่ประเทศนั้นๆหรือกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษานั้นๆร้องขอ แต่เพื่อให้เกิดความเสถียรภาพและความต่อเนื่อง การเปลี่ยรหัสเหล่านี้จะทำได้เมื่อมีความจำเป็นจริงๆเท่านั้น และรหัสเดิมจะยังคงต้องใช้อยู่
อย่างน้อย 5 ปีก่อนที่จะมีการใช้รหัสใหม่แทนที่หลังจากที่ได้มีการร้องขอให้มีการเปลี่ยนแปลง แต่อย่างไรก็ตามรหัสในกลุ่มบรรณาณุกรมจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงถ้าชื่อของภาษาหรือสัญลักษณ์ย่อของภาษาเปลี่ยนด้วยเหตุผลอย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งนี้เพื่อไม่ให้เกิดความสับสน
ในกรณีที่ภาษาเดียวกันแต่มีการเขียนต่างกันจะใช้รหัสแทนภาษาตัวเดียวกันแต่อาจมีมาตรฐาน
อื่นเพิ่มขึ้นเพื่อแยกให้เห็นระบบการเขียนที่แตกต่างกัน สำหรับกรณีภาษาท้องถิ่นก็จะใช้รหัสเดียวกับภาษานั้นๆ ยกเว้นบ้างในกรณีที่ภาษาท้องถิ่นนั้นมีลักษณะที่ไม่สามารถบอกรากที่มาของภาษานั้นๆได้ชัดเจนก็สามารถมีรหัสภาษาของตัวเองได้ (ซึ่งมีปรากฏอยู่น้อยกรณี)
บรรทัด 25:
== ข้อแตกต่างของมาตรฐาน [[ISO 639-1]] และ ISO 639-2 ==
 
'''[[ISO 639]]''' เป็นมาตรฐานที่พยายามจัดรหัสแทนชื่อของภาษาต่างๆ แต่
* [[ISO 639-1]] ประกอบด้วยตัวอักษรแทนเพียง 2 ตัว ซึ่งพัฒนาขึ้นในปี 1988 จากบุคคลในกลุ่มงานทางภาษาศาสตร์ งานทางด้านพจนานุกรม และงานทางบัญญัติศัพท์ โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ครอบคลุมภาษาหลักๆที่ใช้ในโลก
* '''ISO 639-2''' ประกอบด้วยตัวอักษร 3 ตัว ถูกริเริ่มในปี 1989 เนื่องจากเริ่มตระหนักว่ามาตรฐานส่วนแรก คือ [[ISO 639-1]] ไม่เพียงพอที่จะครอบคลุมภาษาจำนวนมหาศาลได้ แต่มาตรฐานชุดนี้ได้กำหนดเป็นมาตรฐานครั้งแรกก็เมื่อในปี 1998 หรือ 9 ปีต่อมา โดยมีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาก็เพื่อใช้ในงานบรรณานุกรมและงานที่ต้องนิยามคำศัพท์ ซึ่งมาตรฐานชุดนี้ครอบคลุมถึงมาตรฐาน [[ISO 639-1]] และภาษาอื่นๆที่มีปรากฏเป็นงานเขียนเชิงวรรณกรรมหรืออย่างน้อยต้องมีส่วนประกอบที่แสดงงานเขียนเชิงวรรณกรรม ซึ่งก็เกี่ยวเนื่องถึงภาษาต่างๆทั้งหมดเกือบทั้งหมดเท่าที่มีปรากฏอยู่ทั่วโลก โดยในมาตรฐานชุดนี้มีการแยกกลุ่มรากของภาษานั้นๆไว้ด้วย
 
== ตัวอย่าง ==
ตัวอย่างของรหัสในกลุ่ม ISO 639-2 เทียบกับ ISO 639-1 โดยที่ ถ้ารหัสในกลุ่ม
ISO 639-2 ใช้รหัสแทนไม่เหมือนกัน รหัสชุดแรกแสดงถึงรหัสในกลุ่มบรรณาณุกรม และชุดที่สองแสดงถึงรหัสในกลุ่มบัญญัติศัพท์
 
{| class="wikitable"
บรรทัด 44:
|-
| aus
|
| กลุ่มภาษาในออสเตรเลีย
|-
| ban
|
| [[ภาษาบาหลี]]
|-
บรรทัด 59:
| [[ภาษาเบลารุส]]
|-
| tib/bod
| bo
| [[ภาษาทิเบต]]
บรรทัด 80:
|-
| dsb
|
| Lower Sorbian
|-
บรรทัด 92:
|-
| enm
|
| English, Middle (1100-1500)
|-
บรรทัด 104:
|-
| fro
|
| French, Old (842-ca.1400)
|-
| lao
| lo
| [[ภาษาลาว]]
|-
บรรทัด 116:
|-
| mul
|
| Multiple languages
|-
บรรทัด 128:
|-
| sgn
|
| [[ภาษาสัญลักษณ์]]
|-
| tha
| th
| [[ภาษาไทย]]
|}
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ISO_639-2"