ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสอบสนามหลวง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bact (คุย | ส่วนร่วม)
Bact (คุย | ส่วนร่วม)
remove dup wikilinks
บรรทัด 1:
{{วิกิประเทศไทย}}
{{พุทธศาสนา}}
'''สอบสนามหลวง''' คือการสอบไล่วัดความรู้พระ[[ปริยัติธรรม|พระปริยัติธรรม]]ของคณะ[[สงฆ์|คณะสงฆ์]][[ไทย]] โดยคำว่า '''"สนามหลวง"''' นั้นสันนิษฐานว่ามาจากคำว่า '''"การสอบพระปริยัติธรรมบาลีใน[[พระบรมมหาราชวัง|พระราชวังหลวง]]"''' โดยการสอบสนามหลวงในสมัยก่อนนั้น[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]จะทรงรับเป็นพระราชภาระ ถวายความอุปถัมภ์การจัดสอบขึ้นใน[[พระบรมมหาราชวัง]] โดยจัดสอบแบบปากเปล่า คือ[[ภิกษุ|พระ]][[ภิกษุ]]หรือ[[สามเณร]]ผู้ศึกษา[[บาลี]]มีความรู้พอสมควรแล้ว เข้าสอบบาลีสนามหลวงโดยการแปล คัมภีร์[[ภาษาบาลีีบาลี]]เป็น[[ภาษาไทย]] หรือแต่ง[[ภาษาไทย]]เป็น[[ภาษาบาลี]] ต่อหน้า[[พระที่นั่ง]]และคณะกรรมการพระเถรานุเถระ โดยผู้สอบไล่ได้ในชั้นประโยคต่างๆ จะได้รับการพระราชทาน[[สมณศักดิ์]] [[พัดยศ]] [[ไตรจีวร]] และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้ง[[พระ]][[ภิกษุ]][[สามเณร]]ผู้สอบได้ให้เป็น[[เปรียญ]] และรับ[[นิตยภัต]]ของหลวง เป็นการยกย่องเชิดชู
 
== ประวัติวามเป็นมาการสอบสนามหลวง<ref>[http://www.alittlebuddha.com/html/Jullasarn2004/J0643/Jullasarn06_5.html '''การศึกษาของพระ ป.ธ.3 ถึง ป.ธ. 9 คืออะไร'''], (จุลสารพระธรรมทูตวัดไทยลาสเวกัส)]</ref> ==
 
การสอบบาลีสนามหลวงนั้นมีมาตั้งแต่สมัย[[กรุงศรีอยุธยา]] ในสมัยต้น[[รัตนโกสินทร์]]พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดสอบในทำนองเดียวกับสมัย[[กรุงศรีอยุธยา]] คือ 3 ปีมีการสอบครั้งหนึ่ง เป็นการสอบแบบปากเปล่า มี[[พระ]]เถราจารย์ผู้ทรงภูมิความรู้เป็นกรรมการสอบ
 
=== การสอบไล่ปากเปล่าในอดีต ===
บรรทัด 13:
วิชาที่สอบแต่ละประโยคนั้นก็จะกำหนด[[พระสูตร]]ต่างๆ สำหรับแต่ละประโยค เริ่มตั้งแต่ประโยค 1 ไปจนถึง ประโยค 9 โดยการสอบนั้น จะมีการสอบตั้งแต่ประโยค 1 ขึ้นไป ถ้าสอบประโยค 1 - 2 ได้ แต่สอบประโยค 3 ไม่ได้ ก็ต้องไปเริ่มสอบประโยค 1 ใหม่ เว้นแต่เมื่อสอบได้ประโยค 3 แล้ว ก็สามารถสอบไล่ไปทีละประโยคหรือหลายประโยคก็ได้
 
ในยุคต้น[[รัตนโกสินทร์]]ต่อเนื่องมาจนถึงสมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง พระภิกษุทุกรูปต้องเล่าเรียนและเข้าสอบ[[บาลีสนามหลวง]] ภิกษุรูปใดสอบไล่ได้เป็นเปรียญตั้งแต่ 3 ประโยคแล้ว ถ้าได้รับพระราชทาน[[สมณศักดิ์]]ตั้งแต่พระครูสมณศักดิ์ขึ้นไป เป็นอันหยุดไม่ต้องเข้าสอบ[[บาลีสนามหลวง]]ต่อไปก็ได้ แต่ถ้าสมัครใจจะเข้าแปลต่อก็ได้ ส่วน[[ภิกษุ]]ที่ยังไม่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ก็ต้องสอบต่อไปเรื่อยๆ จนกว่าจะจบเป็นเปรียญ 9 ประโยค
 
=== การเปลี่ยนรูปแบบสอบไล่บาลีมาเป็นข้อเขียน ===
 
เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง[[มหามกุฎราชวิทยาลัย]]ขึ้นในคณะ[[สงฆ์]][[ธรรมยุตินิกาย]] [[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส]] ซึ่งเวลานั้นทรงเป็นผู้ช่วยเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุติกนิกายได้ทรงกำหนดหลักสูตรของมหามกุฎราชวิทยาลัยขึ้น โดยกำหนดให้ผู้เรียน เรียนทั้งหนังสือ[[ไทย]]และ[[บาลีไวยากรณ์]] โดยผู้เข้าเรียนในสำนัก[[มหามกุฎราชวิทยาลัย]] นี้มีทั้ง[[พระ]][[ภิกษุ]] [[สามเณร]] และ[[ฆราวาส]]
 
จึงทำให้การสอบบาลีสนามหลวงในสมัยนั้นแบ่งออกเป็นสองสนาม คือ สนามที่สอบปากเปล่าแบบเก่า และสนามที่จัดสอบผู้เล่าเรียนตามหลักสูตร[[มหามกุฎราชวิทยาลัย]] ซึ่งใช้วิธีสอบแบบข้อเขียน และแบ่งการสอบเป็น 3 ชั้น เรียกว่า เปรียญตรี เทียบคุณวุฒิเสมอเปรียญ 4 แบบเก่า เปรียญโท เทียบคุณวุฒิเสมอเปรียญ 5 และเปรียญเอกเทียบคุณวุฒิเปรียญ 7
 
การสอบไล่ตามหลักสูตร[[มหามกุฎราชวิทยาลัย]] คงดำเนินมาจนถึงต้นรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] จึงได้ปรับหลักสูตรการศึกษาบาลีสนามหลวงทั้งหมด โดยใช้หลักสูตรของ[[มหามกุฎราชวิทยาลัย]]เป็นหลัก และเลิกการสอบเปรียญ ตรี โท เอก เปลี่ยนมาเป็นสอบบาลีตั้งแต่ประโยค 1 - 9 ดังในปัจจุบัน
 
== การสอบสนามหลวงในปัจจุบัน ==
บรรทัด 31:
=== การสอบบาลีสนามหลวงในปัจจุบัน ===
 
การสอบพระ[[ปริยัติธรรม]]แผนก[[บาลี]] หรือ '''การสอบบาลีสนามหลวง''' แบ่งการสอบออกเป็น 9 ประโยค
 
*ประโยค 1-2 ถึงประโยค 3 เป็นเปรียญตรี (กระทรวงศึกษาธิการเทียบวุฒิให้เทียบเท่ามัธยมศึกษาตอนต้น)<ref>[http://www.ago.go.th/interest_law/sub/sub1/sub1_55.html พระราชบัญญัติกำหนดวิทยฐานะผู้สำเร็จวิชาการพระพุทธศาสนา พ.ศ. ๒๕๒๗]</ref>
 
*ประโยค 4 ถึงประโยค 6 เป็นเปรียญโท (กระทรวงศึกษาธิการเทียบวุฒิให้เทียบเท่ามัธยมศึกษาตอนปลาย)
 
*ประโยค 7 ถึงประโยค 9 เป็นเปรียญเอก (กระทรวงศึกษาธิการเทียบวุฒิให้เทียบเท่าปริญญาตรี)
 
 
โดยการจัดสอบวัดผลบาลีสนามหลวงนั้น ในปัจจุบันจัดให้มีการสอบปีละ 2 ครั้ง<ref>[http://www.watpaknam.net/pali5.php กำหนดการสอบบาลีสนามหลวง]</ref>
; ครั้งที่ 1 : ตรงกับวันขึ้น 2, 3 ค่ำ เดือน 3 จัดสอบเปรียญธรรม 6- 7 และวันขึ้น 4, 5, 6 ค่ำ เดือน 3 จัดสอบเปรียญธรรม 8-9
 
*'''; ครั้งที่ 1'''2 : จะตรงกับวันขึ้นแรม 210, 311 12 ค่ำ เดือน 3 จัดสอบเปรียญธรรมประโยค 61-2 7 และวันขึ้น 4,ถึงเปรียญธรรม 5, 6 ค่ำ เดือน 3 จัดสอบเปรียญธรรม 8-9ประโยค
 
*'''ครั้งที่ 2''' ตรงกับวันแรม 10, 11 12 ค่ำ เดือน 3 จัดสอบประโยค 1-2 ถึงเปรียญธรรม 5 ประโยค
 
=== การสอบธรรมสนามหลวงในปัจจุบัน ===
 
การสอบพระ[[ปริยัติธรรม]]แผนกธรรม หรือ '''การสอบธรรมสนามหลวง''' แบ่งการสอบออกเป็น 2 ประเภท คือ การสอบ '''นักธรรม''' สำหรับพระ[[ภิกษุ]][[ สามเณร]] และการสอบ '''ธรรมศึกษา''' สำหรับ[[ฆราวาส]]
 
โดยแบ่งชั้นการศึกษาออกเป็น 3 ระดับ
*'''; นักธรรมตรี, นักธรรมโท, นักธรรมเอก''' : สำหรับ[[พระภิกษุ]][[ สามเณร]] (ผู้สอบไล่ได้นักธรรมเอกนั้น กระทรวงศึกษาธิการเทียบวุฒิให้เทียบเท่าประถมศึกษาตอนปลาย)
 
*'''; ธรรมศึกษาตรี, ธรรมศึกษาโท, ธรรมศึกษาเอก''' : สำหรับฆราวาส
*'''นักธรรมตรี, นักธรรมโท, นักธรรมเอก''' สำหรับ[[พระภิกษุ]][[สามเณร]] (ผู้สอบไล่ได้นักธรรมเอกนั้น กระทรวงศึกษาธิการเทียบวุฒิให้เทียบเท่าประถมศึกษาตอนปลาย)
 
*'''ธรรมศึกษาตรี, ธรรมศึกษาโท, ธรรมศึกษาเอก''' สำหรับฆราวาส
 
 
การจัดสอบวัดผลธรรมสนามหลวงนั้นจัดให้มีการสอบปีละ 2 ครั้ง<ref>[http://www.gongtham.org/my_data/mydata_book/exam49/index_exam49.htm กำหนดการสอบธรรมสนามหลวง]</ref>
*'''; ครั้งที่ 2'''1 : ตรงกับวันแรมขึ้น 10,9 11- 12 ค่ำ เดือน 311 จัดสอบประโยค 1-2 ถึงเปรียญธรรมนักธรรมชั้นตรี 5สำหรับพระภิกษุ ประโยคสามเณร
 
*'''; ครั้งที่ 1'''2 : จะตรงกับวันขึ้นแรม 92 - 125 ค่ำ เดือน 11 12 จัดสอบนักธรรมชั้นตรีโทและเอก สำหรับ[[พระภิกษุ]][[ สามเณร]]
 
*'''ครั้งที่ 2''' ตรงกับวันแรม 2 - 5 ค่ำ เดือน 12 จัดสอบนักธรรมชั้นโท และเอก สำหรับ[[พระภิกษุ]][[สามเณร]]
 
สำหรับธรรมศึกษานั้นจัดสอบวันเดียวคือวันแรม 5 ค่ำ เดือน 12
 
== อ้างอิง ==
 
<references />
 
 
==ดูเพิ่ม==
 
* [[สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง]]
* [[สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง]]
เส้น 82 ⟶ 68:
[[หมวดหมู่:ภาษาบาลี]]
[[หมวดหมู่:หน่วยงานจัดการศึกษาหลักของคณะสงฆ์ไทย]]
[[หมวดหมู่:การศึกษา]]