ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มังกรจีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต: แก้ไขจาก sco:Cheenese dragon ไปเป็น sco:Cheenese draigon
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โยงหน้าให้ถูกต้อง
บรรทัด 17:
มังกรจริง ๆ ในปัจจุบันก็คือซากของ[[ไดโนเสาร์]]ยุคดึกดำบรรพ์ ซึ่งกลายเป็น[[หิน]] ไข่ไดโนเสาร์ถูกค้นพบในหลายพื้นที่ใน[[ประเทศจีน]] ซึ่งขึ้นชื่อว่ามีไดโนเสาร์มากที่สุดใน[[โลก]]ในสมัยโบราณใช้ในการประกอบเป็น[[ยา]][[สมุนไพร]] เรียกกันว่า "ยากระดูกมังกร" ส่วนไข่ของมังกรจีนนั้นในสมัยเฉียนหลง ถือเอาไข่มังกรจีนเป็นเครื่องรางประจำราชสำนักภายในพระราชวัง[[ปักกิ่ง]] แต่ต่อมาเมื่อพระราชวังปักกิ่งแตก ไข่มังกรจีนก็ตกทอดมาจากประเทศจีนมาอยู่ที่[[ประเทศไทย]]
 
ซึ่งไข่มังกรที่ตกทอดมาอยู่ภายในประเทศไทยนั้น มีตำนานเล่าขานกันมาแต่โบราณว่า เมื่อคณะ[[ทูต]]หรือคณะผู้แทนจากประเทศจีนใช้[[เรือ]]ไฮจี่โดยการนำของ ยังชีขี มีผู้ติดตามมาด้วยจำนวน 449 คน มี[[ทหาร]]ประจำ[[เรือ]] 279 คน เพื่อขอเข้าเฝ้าฯ [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] ณ [[พระที่นั่งอภิเศกดุสิต]] เมื่อเวลาบ่ายโมงของวันที่ [[29]] [[พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2450]] โดยมี[[พระยาบริบูรณโกษากร]]เข้าเฝ้าฯ และมอบหมายให้พระยาบริบูรณโกษากร หรือ ฮวด โชติกะพุกกณะ หรือเจ้าคุณกิมจึ๋ง เป็นผู้จัดการประสานงาน และเลี้ยงต้อนรับในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 5
 
ตามลักษณะของไข่มังกรที่สืบทอดกันมาเป็นตำนานนั้น มีลักษณะคล้ายกับลูกแก้วหิน[[ผลึก]]คล้ายคลึงกับ[[ลูกแก้ว]]ของ[[หลวงปู่ทวด]]เหยียบ[[น้ำ]][[ทะเล]]จืดของประเทศไทยแต่ถูกตกแต่งด้วยการเลี่ยมและห่อหุ้มคล้ายกับห่อด้วย[[แก้ว]]นั่นเอง ทำให้เรื่องของไข่มังกรจีนกลายเป็นเรื่องที่กล่าวขานกันพอสมควรในสมัยนั้น