ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไททัน (ดาวบริวาร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 96:
| องค์ประกอบบรรยากาศ = 98.4% [[ไนโตรเจน]] <br />1.6% [[มีเทน]]
}}
'''ไททัน''' ({{lang-en|Titan}}) คือ [[ดวงจันทร์ดาวบริวาร]]บริวารที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของ[[ดาวเสาร์]] มีระยะห่างจากดาวเสาร์เป็นลำดับที่ 20 เป็นดวงจันทร์ดาวบริวารดวงเดียวที่เป็นที่ทราบกันว่ามีชั้นบรรยากาศที่หนาแน่น และเป็นวัตถุเพียงชนิดเดียวนอกจากโลกที่มีการค้นพบว่ามีร่องรอยของ[[น้ำ]]อยู่บนดาว ไททันมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่าดวงจันทร์ดาวบริวารของโลกประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ และมีมวลมากกว่าประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ เป็นดวงจันทร์ดาวบริวารที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ใน[[ระบบสุริยะ]] รองจากดวงจันทร์ดาวบริวาร[[แกนีมีด]]ของ[[ดาวพฤหัสบดี]] และมีขนาดใหญ่กว่าดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดซึ่งคือ [[ดาวพุธ]] (ถึงแม้ว่าจะมีมวลน้อยกว่าเพียงครึ่งเดียวก็ตาม)
 
ผู้คนได้รู้ว่าไททันเป็นดวงจันทร์ดาวบริวารดวงแรกของดาวเสาร์ หลังจากที่ถูกค้นพบเมื่อปี [[พ.ศ. 2198]] (ค.ศ. 1655) โดย[[คริสทีอาน ไฮเกนส์]] (Christiaan Huygens) [[นักดาราศาสตร์]]ชาวดัตช์
 
ไททันประกอบด้วยน้ำ น้ำแข็ง และหินเป็นหลัก ด้วยความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศของไททัน ทำให้เราไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับพื้นผิวของมันมากนัก จนกระทั่งยานอวกาศ "[[แคสซีนี-ไฮเกนส์]] (Cassini–Huygens)" ได้เดินทางไปถึงในปี [[พ.ศ. 2547]] (ค.ศ.2004) รวมถึงการค้นพบทะเลสาบไฮโดรคาร์บอนเหลว บริเวณขั้วของดาวโดยดาวเทียม ลักษณะของพื้นผิวนั้น ทางธรณีวิทยาถือว่ายังค่อนข้างใหม่ ถึงแม้ว่าจะประกอบด้วย[[ภูเขา]]และ[[ภูเขาไฟน้ำแข็ง]] (cryovolcano) ก็ตาม
บรรทัด 105:
 
{{คอมมอนส์|Titan (moon)}}
{{ดวงจันทร์ดาวบริวารของดาวเสาร์}}
{{ดาวเสาร์}}
 
{{เรียงลำดับ|ทไททัน (ดวงจันทร์ดาวบริวาร)}}
{{โครงดาราศาสตร์}}
 
[[หมวดหมู่:ดวงจันทร์ดาวบริวารของดาวเสาร์]]
[[หมวดหมู่:วัตถุทางดาราศาสตร์ที่ค้นพบในปี พ.ศ. 2198]]