ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สูตรของเว่ยหล่าง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แจ้งต้องการหมวดหมู่ +เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ต้องการหมวดหมู่}}
{{ลบ|ไม่เป็นสารานุกรม}}
{{อย่าเพิ่งลบ|ถ้าบทความนี้ไม่มีความเป็นสารานุกรมก็คงไม่มีบทความนี้ปรากฏในวิกิพีเดียที่แปลเป็นภาษาต่างๆมากมาย ดังนั้นควรปรับปรุงบทความแทนการลบดีกว่า}}
 
'''สูตรของเว่ยหล่าง''' (อังกฤษ: Platform Sutra ,จีน: 六祖壇經, แบบเต็ม: 南宗頓教最上大乘摩訶般若波羅蜜經六祖惠能大師於韶州大梵寺施法壇經) เขียนขึ้นโดย [[ฮุ่ยเหนิง|พระสังฆปรินายกองค์ที่ 6 เว่ยหล่าง]] ในช่วงศตวรรษที่ 8 ถึง 13<ref>Schlutter Morten 2007 Transmission and Enlightenment in Chan Buddhism Seen Through the Platform Sūtra (Liuzu tanjing 六祖壇經). In: Chung-Hwa Buddhist Journal, no. 20, pp. 379~410 (2007) [//www.thezensite.com/ZenEssays/HistoricalZen/Transmission_and_Enlightenment.pdf pdf]</ref> คำสอนเป็นเรื่องเกี่ยวกับ การสืบทอดตำแหน่งพระสังฆปรินายกจาก พระสังฆปรินายกองค์ที่ 5 หวางยั่น (ฮ่งยิ้ม) กับ ท่านเว่ยหล่าง และโศลกที่ได้รับจากท่านอาจารย์ จุดเด่นอยู่ที่การมุ่งสู่ จิตเดิมแท้ และความสำคัญอันรวมเป็นหนึ่งเดียวกันของ [[ศีล]] [[สมาธิ]] และ [[ปัญญา]]
 
== เนื้อหา ==
เส้น 38 ⟶ 39:
 
=== บทที่เจ็ด คำสอนอันเหมาะกับอุปนิสัย ===
* การประพฤติจนดูช่ำชองที่เรียกว่าสมาธิตั้งมั่นนั้น ความจริงไม่ใช่สมาธิอะไรเลย
* การถือว่าการได้บรรลุธรรมหรือผลใดๆจากธรรมก็ตามเป็นเพียงของลมๆแล้ง เป็นกุศลอันใหญ่หลวง
* ถ้าเพียงเชื่อว่าพระพุทธเจ้าไม่ได้ตรัสอะไรแม้แต่คำเดียว เมื่อนั้นดอกบัวจะบานในปากของท่าน (ใช้กับพระสงฆ์ที่ชอบท่องมนต์หลายๆเที่ยว ความหมายคือพระสงฆ์องค์นั้นยึดติดพัวพัน)
 
=== บทที่แปด สำนึกฉับพลันและสำนึกเชื่องช้า ===
เส้น 50 ⟶ 51:
=== บทที่สิบ คำสอนครั้งสุดท้าย ===
ธรรมมีสามประเภท คือ ขันธ์ห้า อาตนะสิบสอง ธาตุสิบแปด
* ในสภาพของการเป็นเช่นนั้นย่อมไม่มีการมาหรือการไป ไม่มีการเกิดหรือการดับ
* ผู้เห็นต่างย่อมเป็นเช่นนั้นเอง การสร้างความขัดแย้งไม่ถูกต้องตามหลักธรรม
* เราควรเปลื้องตัวออกจากความผูกพันในวัตถุทั้งหลาย (ท่านจึงไม่ประสงค์มอบบาตรและจีวรสืบทอดแก่ใครอีกต่อไป มีเพียงหนังสือแจกจ่ายเท่านั้น)
 
== อ้างอิง ==