ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์เพียงพอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Makecat-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต: แก้ไขจาก sq:Kunadhet ไปเป็น sq:Kunadhja
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 29:
'''วงศ์เพียงพอน''' หรือ '''วงศ์วีเซล''' ({{lang-en|Weasel family, Mustelid<ref name="itis"/>}}) เป็น[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]]ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ใน[[อันดับสัตว์กินเนื้อ]]วงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Mustelidae (มาจากภาษาละตินคำว่า ''Mustela'' หมายถึง "[[เพียงพอน]]")
 
ลักษณะโดยรวมของสัตว์ในวงศ์นี้ คือ มีหัวกลม ใบหูสั้นกลม ขาสั้นเตี้ย ลำตัวเพรียวยาว หางยาว มีขนที่อ่อนนุ่มและหนาทั้งตัวและหาง อุ้งเล็บตีนแหลมคม ในปากมีฟันที่แหลมคม มีฟันตัดเหมาะสมสำหรับการกินเนื้อ ซึ่งสามารถเขียนเป็นสูตรได้ว่า {{DentalFormula|upper=3.1.3.1|lower=3.1.3.2}} ส่วนใหญ่เป็นสัตว์ที่หากินในเวลา[[กลางคืน]] เป็นสัตว์ที่คล่้องแคล่วว่องไวคล่องแคล่วว่องไว ปราดเปรียว และกินอาหารได้หลากหลายไม่เลือกทั้ง[[พืช]]และสัตว์ หลายชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เพียงพอน จะล่า[[กระต่าย]]กินเป็นอาหาร ทั้งที่เป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่กว่า โดยทำการล่าเป็นฝูงและมุดเข้าไปลากดึงเอาถึงในโพรงจากลำตัวที่เพรียวยาว<ref>''สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในประเทศไทยและภูมิภาคอินโดจีน'' หน้า 64 โดย กองทุนสัตว์ป่าโลก สำนักงานประเทศไทย (กรุงเทพมหานคร, 2543) ISBN 974-87081-5-2</ref>
 
ลักษณะเด่นคือประการ คือ ส่วนมากยกเว้น[[นากทะเ้ลทะเล]]<ref>Kenyon, Karl W. (1969). ''The Sea Otter in the Eastern Pacific Ocean''. Washington, D.C.: U.S. Bureau of Sport Fisheries and Wildlife.</ref> จะมีต่อมกลิ่นใกล้กับรูทวาร ซึ่งผลิตสารเคมีที่เป็นของเหลวเหมือนน้ำมันสีเหลือง มีกลิ่นฉุนสำหรับใช้ประกาศอาณาเขตและใช้เป็นการประกาศทางเพศ และเมื่อ[[ปฏิสนธิ]]แล้ว ไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิจะยังไม่ฝังตัวเข้ากับผนังมดลูก แต่จะลอยอยู่อย่างนั้น ซึ่งอาจกินเวลานับ 10 เดือน จะฝังตัวเฉพาะเมื่อถึงฤดูกาลที่อาหารอุดมสมบูรณ์เท่านั้น ก่อนที่จะพัฒนาต่อมาเป็น[[ตัวอ่อน]]และพัฒนาต่อมาจนกระทั่งคลอดออกมาในฤดูที่อาหารอุดมสมบูรณ์ อุณหภูมิอากาศพอเหมาะแก่ลูกอ่อนที่เกิดขึ้นมา ซึ่งตัวแม่จะออกลูกและเลี้ยงดูลูกไว้ในโพรงดินหรือโพรงไม้ ลูกอ่้อนอ่อนจะยังไม่ลืมตา และมีขนบาง ๆ ปกคลุมตัวเท่านั้น จนกระทั่งอายุได้ราว 2-3 เดือน จึงจะเริ่มหย่านม และออกมาใช้ชีวิตเองตามลำพังเมื่ออายุได้ราว 1 ปี<ref>[http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=92&i2=21 เพียงพอน โดย จารุจินต์ นภีัตะภัฏนภีตะภัฏ]</ref>
 
พบกระจายพันธุ์ไปในหลายพื้นที่รอบโลก ทั้งในป่าทึบ, ที่ราบสูง, พื้นที่ชุ่มน้ำ, ชายฝั่งทะเล ตลอดจนชุมชนเมืองของมนุษย์ จนกระทั่งหลายชนิดเป็น[[สัตว์รังควาน]]สร้างความเสียหายให้แก่มนุษย์<ref>King, Carolyn (1984). Macdonald, D.. ed. ''The Encyclopedia of Mammals''. New York: Facts on File. pp. 108–109. ISBN 0-87196-871-1.</ref>
บรรทัด 136:
 
==ความผูกพันกับมนุษย์==
[[Fileไฟล์:Léonard de Vinci - Dame à l'.jpg|thumb|150px|right|รูปวาด ''"[[Lady with an ermine|สตรีกับเออร์มิน]]"'' (Lady with an ermine) (จริง ๆ แล้วคือ [[ferret|เฟอเรท]])]]
สัตว์ในวงศ์เพียงพอนมีความผูกพันกับมนุษย์อย่างมาก ตั้งแต่้ตั้งแต่อดีตด้วยการไล่ล่าเอาหนังและขนมาทำเป็น[[เสื้อขนสัตว์]] เช่น มิงค์, นาก, เพียงพอน, เออร์มิน หรือหมาไม้ แต่ด้วยความที่เป็นสัตว์ที่มีขนาดเล็ก ดังนั้นการทำเสื้อขนสัตว์หนึ่งตัว ต้องใช้จำนวนมิงค์หรือนากถึง 40 ตัว จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1975 [[กองทุนสัตว์ป่าโลก]] (WWF) ได้เรียกร้องให้รัฐบาลประเทศต่าง ๆ ยกเลิกการค้าหนังนาก ซึ่งก็ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี ทำให้นากได้รับความคุ้มครอง แต่กระนั้นในบางพื้นที่ก็ยังคงมีการลักลอบกันอยู่จนถึงปัจจุบัน<ref>''นาก'' หน้า 114-118, "สัตว์สวยป่างาม" (ชมรมนิเวศวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล, สิงหาคม 2518)</ref><ref>Heptner, V. G.; Sludskii, A. A. (2002). ''Mammals of the Soviet Union. Vol. II, part 1b, Carnivores (Mustelidae and Procyonidae)''. Washington, D.C. : Smithsonian Institution Libraries and National Science Foundation. ISBN 90-04-08876-8</ref>
 
ในบางจำพวกอย่าง หมาไม้ หรือเพียงพอน เป็นสัตว์รังควานในพื้นที่[[ยุโรป]]และ[[อเมริกาเหนือ]] ที่สร้างความเสียหายให้แก่[[เครื่องเรือน]]และเครื่องยนต์ของรถในบ้่านเรือนบ้านเรือน ด้วยการที่เป็ันเป็นสัตว์ที่ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่มนุษย์อาศัยอยู่ได้เป็นอย่างดี<ref>[http://www.rentokil.co.th/pest-guides/other-wildlife/stoat/index.html ตัวสโทท์]</ref><ref>[http://www.rentokil.co.th/pest-guides/other-wildlife/beech-and-stone-marten/index.html คู่มือสัตว์รบกวน]</ref><ref>Lachat, N. 1991. [http://www.smallcarnivoreconservation.org/sccwiki/images/c/c0/Number_5.PDF ''Stone martens and cars: a beginning war?''] Small Carnivore Conservation 5: 4-6</ref> แต่จากการที่เป็นสัตว์กินเนื้อ และชอบล่าสัตว์เล็ก ๆ เช่น [[หนู]] หรือกระต่าย ทำให้มีการใช้[[เฟอเรท]]สำหรับล่าหนูที่สร้างความเสียหายแก่พื้นที่ทางการเกษตรในบางพื้นที่ เช่น สหรัฐอเมริกา สำหรับในประเทศไทย ของเหลวคล้ายน้ำมันกลิ่นฉุนจากต่อมใกล้ทวารของหมูหริ่ง หรือ หมาหริ่งใช้ทำ[[ยา]]ใน[[การแพทย์แผนไทย]]ได้ด้วย<ref>[http://guru.sanook.com/search/%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%87/ หมูหริ่ง จากพจนานุกรมฉบับ อ.เปลื้อง ณ นคร จากสนุกดอตคอม]</ref>
 
ที่[[นิวซีแลนด์]] ซึ่งเป็นดินแดนห่างไกลจากแผ่นดินใหญ่ เป็นที่ ๆ มี[[สิ่งมีชีวิตถิ่นเดียว]]อยู่อย่างหลากหลาย โดยที่ไม่มีสัตว์ผู้ล่าอยู่เลย แต่ทว่าเมื่อชาวตะวันตกเข้าไปบุกเบิก เออร์มิน หรืิอสโทธหรือสโทธก็ได้ติดเข้าไปด้วย และกลายมาเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานกา่รการขยายพันธุ์ของนกที่บินไม่ได้หลายชนิดที่นั่น เช่น [[นกกีวี]] ทำให้อยู่ในสภาวะใกล้สูญพันธุ์ในปัจจุบัน<ref>''New Zealand ดินแดนแห่งนก'', "Mutant Planet", ทางแอนิมอลแพลนเน็ต. สารคดีทางทรูวิชั่นส์: เสาร์ที่ 22 ธันวาคม 2555</ref>
 
ที่[[เวียดนาม]]มีการให้เพียงพอนกินเมล็ดกาแฟ แล้วให้[[เอนไซม์]]ในกระบวนการย่อยของเพียงพอนถ่ายมูลออกมา เพื่อเก็บขายในราคาที่สูงมาก เรียกว่า "กาแฟขี้เพียงพอน" เช่นเดียวกับ[[กาแฟขี้ชะมด]] ที่ได้จาก[[อีเห็น]]<ref>[http://www.manager.co.th/IndoChina/ViewNews.aspx?NewsID=9520000003482 "กาแฟขี้เพียงพอน" สินค้าราคาแพงจากเวียดนาม จากผู้จัดการออนไลน์]</ref>
บรรทัด 152:
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{wikispecies|Mustelidae}}
[[Categoryหมวดหมู่:สัตว์กินเนื้อ]]
 
[[an:Mustelidae]]