ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮกุ พ.ศ. 2554"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink: จัดรูปแบบ {{ลิงก์เสีย}}
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: แทนที่คำ
บรรทัด 50:
 
=== พลังงาน ===
แผ่นดินไหวดังกล่าวปลดปล่อย[[พลังงานพื้นผิว]]ออกมากว่า 1.9±0.5×10<sup>17</sup> [[จูล]]<ref>{{cite web|url=http://earthquake.usgs.gov/earthquakes/eqinthenews/2011/usc0001xgp/neic_c0001xgp_e.php |title=USGS Energy and Broadband Solution |publisher=Neic.usgs.gov |date= |accessdate=2011-03-12}}</ref> ซึ่งประกอบด้วยพลังงานสั่นสะเทือนและสึนามิ ซึ่งเป็นเกือบสองเท่าของพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจาก[[แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547|เหตุแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547]] ซึ่งคร่าชีวิตผู้คนไปกว่า 230,000 คน หากสามารถใช้ประโยชน์จากพลังงานดังกล่าวได้ พลังงานคลื่นพื้นผิวจากแผ่นดินไหวนี้จะเพียงพอต่อนครขนาด[[ลอสแองเจลลิสลอสแอนเจลิส]]ได้ทั้งปี<ref name=CBSMcNutt>{{Cite video|people=Marcia McNutt|title=Energy from quake: if harnessed, could power L.A. for a year|url=http://www.youtube.com/watch?v=_C7KKwIMapw|date=12 March 2011|publisher=CBS News via YouTube (Google)|accessdate=13 March 2011| archiveurl = http://www.webcitation.org/5y2MqdDhf | archivedate=18 April 2011| deadurl=no}}</ref> สำหรับพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาทั้งหมด หรือที่รู้จักกันว่า [[โมเมนต์แผ่นดินไหว]] มีค่ามากกว่า 200,000 เท่าของพลังงานพื้นผิว และสามารถคำนวณได้อยู่ที่ 3.9×10<sup>22</sup> จูล<ref>{{cite web|url=http://earthquake.usgs.gov/earthquakes/eqinthenews/2011/usc0001xgp/neic_c0001xgp_wmt.php |title=USGS.gov: USGS WPhase Moment Solution |publisher=Earthquake.usgs.gov |date= |accessdate=2011-03-13}}</ref> น้อยกว่าแผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดียเมื่อ พ.ศ. 2547 เล็กน้อย พลังงานดังกล่าว[[สมมูลทีเอ็นที|เท่ากับทีเอ็นที]] 9,320 กิกะจิกะตัน หรืออย่างน้อย 600 ล้านเท่าของพลังงานของ[[การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ถล่มฮิโระชิมะและนะงะซะกิ|ระเบิดนิวเคลียร์ที่ถล่มฮิโรชิมา]]
 
สถาบันพลังงานนิวเคลียร์ของสหรัฐอเมริกาเปิดเผยตัวเลขซึ่งระบุว่าแผ่นดินไหวดังกล่าวสร้างความเร่งสูงสุดของพื้นดินอยู่ที่ 0.35 จี (3.43 ม./วินาที²) ใกล้กับจุดเหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว<ref name="Lavelle14">{{cite news|url=http://news.nationalgeographic.com/news/energy/2011/03/110314-japan-nuclear-power-plant-disaster/|title=Japan Battles to Avert Nuclear Power Plant Disaster|author=Lavelle, Michelle|work=National Geographic News|date=2011-03-14|accessdate=2011-03-16}}</ref> จากการศึกษาโดย[[มหาวิทยาลัยโตเกียว]]ชี้ว่าในบางพื้นที่มีค่าความเร่งสูงสุดเกินกว่า 0.5 จี (4.9 ม./วินาที²) <ref>{{cite web|url=http://www.insurancejournal.com/news/international/2011/03/15/190203.htm|title=EQECAT Analyzes Specific Exposures from Japan Quake/Tsunami|work=Insurance Journal|publisher=Wells Publishing|date=2011-03-15|accessdate=2011-03-16}}</ref> ด้านสถาบันวิจัยโลกศาสตร์และการป้องกันภัยพิบัติแห่งชาติ (NIED) ของญี่ปุ่นได้คำนวณค่าความเร่งสูงสุดของพื้นดินไว้ที่ 2.99 จี (29.33 ม./วินาที²) <ref>{{cite web|title=2011 Off the Pacific Coast of Tohoku earthquake, Strong Ground Motion|url=http://www.k-net.bosai.go.jp/k-net/topics/TohokuTaiheiyo_20110311/nied_kyoshin1e.pdf|publisher=National Research Institute for Earth Science and Disaster Prevention |date=2011-03-11 |accessdate=2011-03-18}}</ref> ส่วนค่าที่บันทึกได้มากที่สุดในญี่ปุ่นอยู่ที่ 2.7 จี ในจังหวัดมิยะงิ ห่างจากศูนย์กลางแผ่นดินไหว 75 กิโลเมตร ส่วนค่าที่อ่านได้สูงสุดในพื้นที่มหานครโตเกียวอยู่ที่ 0.16 จี<ref>{{cite web|url=http://nsmp.wr.usgs.gov/ekalkan/Tohoku/index.html|title=March 11, 2011 M9.0 Tohoku, Japan Earthquake: Preliminary results|author= Erol Kalkan, Volkan Sevilgen|work=United States Geological Survey|date=17 March 2011|accessdate=22 March 2011| archiveurl = http://www.webcitation.org/5xb6DokSo | archivedate=31 March 2011| deadurl=no}}</ref>
บรรทัด 151:
=== ไฟฟ้า ===
[[ไฟล์:Devastation in Minamisōma after tsunami.jpg|thumb|left|ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับสายส่งกระแสไฟฟ้า]]
ตามข้อมูลของโทโฮะกุอิเล็กทริกพาวเวอร์ (TEP) มีบ้านเรือนราว 4.4 ล้านหลังคาเรือนทางตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่นไม่มีกระแสไฟฟ้าใช้<ref>{{cite web|url= http://au.news.yahoo.com/world/a/-/world/8997743/people-near-japan-nuke-plant-told-to-leave/ |title=People near Japan nuke plant told to leave| publisher = Yahoo! | work = News | location = AU}}</ref> เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์และเครื่องปฏิกรณ์ไฟฟ้าทั่วไปหลายเครื่องไม่สามารถใช้การได้หลังจากเกิดแผ่นดินไหว ซึ่งลดกำลังการผลิตกระแสไฟฟ้าของบริษัทผลิตไฟฟ้าโตเกียว (TEPCO) ลง 21 จิกะวัตต์<ref>{{cite web|url= http://e.nikkei.com/e/fr/tnks/Nni20110313D13JFF08.htm | date =14 March 2011, 04:34| title = Power Outage To Deal Further Blows To Industrial Output |publisher= Nikkei.com |accessdate=2011-03-14}}</ref> มาตรการตัดกระแสไฟฟ้า (rolling blackout) เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 14 มีนาคม จากการขาดแคลนพลังงานซึ่งเป็นผลมาจากแผ่นดินไหว TEPCO ซึ่งปกติแล้ว ผลิตไฟฟ้าอย่างน้อย 40 กิกะจิกะวัตต์ ประกาศว่าขณะนี้ทางบริษัทสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้เพียงราว 30 กิกะจิกะวัตต์ ที่เป็นเช่นนี้เพราะไฟฟ้าร้อยละ 40 ที่ใช้ในพื้นที่เขตมหานครโตเกียวปัจจุบันได้รับไฟฟ้าที่ผลิตจากเครื่องปฏิกรณ์ใน[[จังหวัดนิอิงะตะ]]และฟุกุชิมะ<ref>{{cite web|url=http://www.tepco.co.jp/index-j.html|title= 東京電力ホームページ – エネルギーの最適サービスを通じてゆたかで快適な環境の実現に貢献します -|publisher=Tokyo Electric Power Company|accessdate=2011-03-13 | language = Japanese}}</ref> เครื่องปฏิกรณ์ที่[[โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ]]และฟุกุชิมะไดนิถูกปิดตัวลงอัตโนมัติหลังเกิดเหตุแผ่นดินไหวขึ้นครั้งแรก และได้รับความเสียหายอย่างหนักจากเหตุแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิที่เกิดขึ้นตามมา คาดว่าจะมีมาตรการตัดกระแสไฟฟ้านานสามชั่วโมงถึงสิ้นเดือนเมษายนและจะส่งผลกระทบถึงจังหวัดโตเกียว คะนะงะวะ ชิซุโอกะ ยามานาชิ ชิบา อิราบากิ ไซตามะ โตชิงิ และกุนมะ<ref>{{cite web|url=http://www.nikkansports.com/general/news/f-gn-tp0-20110313-748042.html | title= News | publisher= Nikkan Sports |date= |accessdate=2011-03-13}}</ref> การเต็มใจลดการใช้กระแสไฟฟ้าโดยผู้บริโภคในเขตคันโตช่วยลดความถี่และระยะที่เกิดไฟฟ้าดับจากที่เคยทำนายไว้<ref>Joe, Melinda, "[http://search.japantimes.co.jp/cgi-bin/fs20110317a3.html Kanto area works on energy conservation]", ''[[Japan Times]]'', 17 March 2011, p. 11.</ref> การลดการใช้ไฟฟ้าโดยสมัครใจของผู้บริโภคในพื้นที่คันโตช่วยลดความถี่และระยะเวลาของการตัดกระแสไฟฟ้าที่คาดการณ์ไว้<ref>Joe, Melinda, "[http://search.japantimes.co.jp/cgi-bin/fs20110317a3.html Kanto area works on energy conservation]", ''Japan Times'', 17 March 2011, p. 11. {{WebCite|url=http://www.webcitation.org/5y2awhmjE|date=18 April 2011}}</ref> จนถึงวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2554 จำนวนครัวเรือนทางตอนเหนือของญี่ปุ่นที่ไม่มีกระแสไฟฟ้าใช้ลดลงเหลือ 242,927 ครัวเรือน<ref name="Reuters figures">{{cite news|last=Nomiyama|first=Chiz|url=http://www.reuters.com/article/2011/03/21/us-japan-quake-numbers-idUSTRE72K0YJ20110321|title=Factbox: Japan disaster in figures|date=21 March 2011|work=Reuters|accessdate=21 March 2011|archiveurl=http://www.webcitation.org/5xLOSexvL|archivedate=21 March 2011}}</ref>
 
TEP ปัจจุบันไม่สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าเพิ่มเติมให้กับเขตคันโตได้ เพราะเครื่องปฏิกรณ์ของ TEP เองก็ได้รับความเสียหายจากเหตุแผ่นดินไหวด้วยเช่นกัน คันไซอิเล็กทริกพาวเวอร์คอมปานี (Kepco) ไม่สามารถแบ่งกระแสไฟฟ้าให้ได้ เพราะระบบของบริษัททำงานอยู่ที่ 60 เฮิร์ตซ์ ขณะที่ของ TEPCO และ TEP ทำงานที่ 50 เฮิร์ตซ์ ซึ่งเป็นผลมาจากการพัฒนาทางอุตสาหกรรมและสาธารณูปโภคในยุคเริ่มแรกในคริสต์ทศวรรษ 1880 ซึ่งทำให้ญี่ปุ่นไม่มีสายส่งไฟฟ้าทั่วประเทศที่เป็นเอกภาพ<ref>http://www.itworld.com/business/140626/legacy-1800s-leaves-tokyo-facing-blackouts</ref> สถานีย่อยสองแห่ง ในชิซุโอกะและนางาโนะ สามารถแปลงความถี่และส่งกระแสไฟฟ้าจากคันไซไปยังคันโตและโทโฮะกุ แต่มีกำลังสูงสุดจำกัดอยู่ที่ 1 กิกะจิกะวัตต์ และจากความเสียหายที่เกิดขึ้นกับเครื่องปฏิกรณ์หลายเครื่องนั้น อาจต้องใช้เวลาหลายปีจึงจะฟื้นฟูระดับการผลิตกระแสไฟฟ้าทางตะวันออกของญี่ปุ่นให้กลับคืนสู่ระดับก่อนเกิดแผ่นดินไหว<ref>Hongo, Jun, "[http://search.japantimes.co.jp/cgi-bin/nn20110316a6.html One certainty in the crisis: Power will be at a premium]", ''[[Japan Times]]'', 16 March 2011, p. 2.</ref>
 
ในควมพยายามจะช่วยบรรเทาการขาดแคลนพลังงาน ผู้ผลิต[[เหล็กกล้า]]สามรายในภูมิภาคคันโตได้สนับสนุนกระแสไฟฟ้าที่ผลิตโดยโรงไฟฟ้าแบบเก่าภายในองค์กร ให้แก่ TEPCO เพื่อแจกจ่ายต่อไปยังสาธารณชน ซูมิโตโมเมทัลอินดัสตรีส์ สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ถึง 500 เมกะวัตต์ เจเอฟอีสตีล 400 เมกะวัตต์ และนิปปอนสตีล 500 เมกะวัตต์<ref>''NHK'', "Steel makers provide TEPCO with electricity", 27 March 2011.</ref> ผู้ผลิตรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ในคันโตและโทโฮะกุยังตกลงในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2554 โดยเปิดโรงงานเฉพาะวันเสาร์และวันอาทิตย์ และปิดวันพฤหัสบดีและวันศุกร์เพื่อช่วยบรรเทาการขาดแคลนไฟฟ้าระหว่างฤดูร้อน พ.ศ. 2554<ref>Nakata, Hiroko, "[http://search.japantimes.co.jp/cgi-bin/nb20110520a1.html Auto industry agrees to adopt weekend work shifts]", ''[[Japan Times]]'', 20 May 2011, p. 1.</ref>
บรรทัด 172:
โรงกลั่นน้ำมันของคอสโมออยล์คอมปานี ซึ่งมีกำลังการผลิต 220,000 บาร์เรลต่อวัน<ref name="Fernandez" /> เกิดเพลิงลุกไหม้อันเป็นผลมาจากแผ่นดินไหวที่อิชิฮาระ จังหวัดชิบะ ทางตะวันออกของกรุงโตเกียว<ref>[http://www.telegraph.co.uk/news/worldnews/asia/japan/8375497/Japan-earthquake-causes-oil-refinery-inferno.html Japan earthquake causes oil refinery inferno] Daily Telegraph, London, 11 March 2011</ref> ไฟถูกดับลงหลังลุกไหม้เป็นเวลาสิบวัน ทำให้มีผู้เสียชีวิตและได้รับบาดเจ็บรวมหกคน และทำลายคลังน้ำมันไปด้วย ขณะที่โรงกลั่นน้ำมันแห่งอื่น ๆ ชะลอการผลิตจากการตรวจสอบความปลอดภัยและการสูญเสียพลังงาน<ref>[http://www.argusmedia.com/pages/NewsBody.aspx?menu=yes&id=743808&print=yes Fires, safety checks take out Japanese refineries] ''Argus Media'', 14 March 2011. Accessed: 18 March 2011.</ref><ref>[http://www.argusmedia.com/pages/NewsBody.aspx?menu=yes&id=743987&print=yes Japanese refiners try to offset shortages] ''Argus Media'', 15 March 2011. Accessed: 18 March 2011.</ref> ในเซนได โรงกลั่นน้ำมันกำลังการผลิต 145,000 บาร์เรลต่อวัน ซึ่งเป็นของบริษัทโรงกลั่นที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น เจเอกซ์นิปปอนออยล์แอนด์เอเนอร์จี ได้เกิดเหตุเพลิงไหม้จากแผ่นดินไหวด้วยเช่นกัน<ref name="Fernandez">{{cite news|url=http://www.reuters.com/article/2011/03/14/us-japan-commodities-idUSTRE72D1X320110314|title=Japan's shipping, energy sectors begin march back from quake|last=Fernandez|first=Clarence|date=2011-03-14|work=[[Reuters]]|accessdate=2011-03-14|archiveurl=http://www.webcitation.org/5xAvhzbD4|archivedate=2011-03-14}}</ref> มีการอพยพคนงาน<ref>{{cite news|url=http://www.reuters.com/article/2011/03/12/refinery-operations-jx-fire-idUSTKG00706520110312|title=JX refinery fire seen originated from shipping facility|last=Tsukimori|first=Osamu|coauthors=Negishi, Mayumi|date=2011-03-11|work=[[Reuters]]|accessdate=2011-03-14|archiveurl=http://www.webcitation.org/5xAvN97ku|archivedate=2011-03-14}}</ref> แต่ประกาศเตือนภัยคลื่นสึนามิได้ขัดขวางความพยายามที่จะดับไฟกระทั่งวันที่ 14 มีนาคม เมื่อเจ้าหน้าที่ทางการวางแผนดำเนินการ<ref name="Fernandez" />
 
การวิเคราะห์ประเมินว่าการบริโภคน้ำมันหลายประเภทอาจเพิ่มสูงขึ้นเป็นถึง 300,000 บาร์เรลต่อวัน (รวมทั้ง[[ก๊าซธรรมชาติเหลว]]) เพื่อใช้ป้อนให้กับเครื่องปฏิกรณ์ชนิดเผาผลาญ[[เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์|เชื้อเพลิงซากฟอสซิล]]เพื่อพยายามทดแทนกำลังการผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ 11 กิกะจิกะวัตต์ของญี่ปุ่น<ref>[http://www.argusmedia.com/pages/NewsBody.aspx?menu=yes&id=744156&print=yes Analysis - Oil markets adjust to Japan’s disaster] ''Argus Media'', 16 March 2011. Accessed: 18 March 2011.</ref><ref>[http://www.argusmedia.com/pages/NewsBody.aspx?menu=yes&id=744031&print=yes Japan quake begins to impact LNG trade] ''Argus Media'', 15 March 2011. Accessed: 18 March 2011.</ref>
 
เครื่องปฏิกรณ์ของเมืองเซนไดที่นำเข้าก๊าซธรรมชาติเหลวได้รับความเสียหายอย่างหนัก และวัตถุดิบถูกชะลอไว้อย่างน้อยเดือนหนึ่ง<ref>[http://www.argusmedia.com/pages/NewsBody.aspx?id=744173&menu=yes Tsunami Disaster: “Japan’s Sendai says LNG Infrastructure Badly Damaged”] ''Argus Media'', 16 March 2011. Accessed: 18 March 2011.</ref>
บรรทัด 210:
== อ้างอิง ==
<div style="overflow:scroll;height:300px;">
{{รายการอ้างอิง|2}}
{{Reflist|2}}
</div>