ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink: คอมมอนส์-หมวดหมู่
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: แทนที่คำ
บรรทัด 21:
| ผู้พิทักษ์ =ผู้นับถือลัทธิเบนเนดิคติน, นักเรียน, ผู้รับใช้, ผู้ทำถ้วยชามแตก
}}
'''นักบุญเบเนดิกต์แห่งเนอร์เซีย''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: Benedict of Nursia; [[ภาษาอิตาลี]]: Benedetto da Norcia) เป็น[[นักบุญ]]ใน[[คริสต์ศาสนา]]ที่เกิดเมื่อราว ค.ศ. 480 ที่เมืองเนอร์เซีย ใน[[ประเทศอิตาลี]] และเสียชีวิตเมื่อราว ค.ศ. 547 ที่มอนเตคาสสิโนใน[[ประเทศอิตาลี]]เช่นกัน นักบุญเบเนดิกต์<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 142</ref>เป็นผู้ก่อตั้ง[[ระบบสำนักสงฆ์ของคริสต์ศาสนา]]ของ[[ลัทธิเบ็นนาดิคติน|คณะเบเนดิกติน]] (Benedictine Order) และเป็นผู้เขียน[[วินัยของนักบุญเบเนดิกต์]]สำหรับเป็นกฏกฎปฏิบัติของนักบวชในอารามในคณะเบเนดิกติน ซึ่งเป็นกฏกฎที่ตั้งต้นด้วย “พระเยซู ... จะนำเราทั้งหมดด้วยกันไปสู่นิรันด์กาล”<ref>RB 72.12</ref> เบเนดิกตินได้รับการสถาปนาให้เป็นนักบุญในปี [[ค.ศ. 1220]]
นักบุญเบเนดิกต์ก่อตั้งชุมนุมนักพรตถึงสิบสองอาราม อารามที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดคือ[[อารามมอนเตคาสสิโน]]บนเนินเขาในทัสเคนีไม่ไกลจาก[[เซียนา]] แต่ไม่มีหลักฐานสนับสนุนว่านักบุญเบเนดิกต์ตั้งใจจะก่อตั้ง[[คณะนักบวชคาทอลิก]]ขึ้นมาโดยตรง [[ลัทธิเบ็นนาดิคติน|คณะเบเนดิกติน]]เป็นคำที่มาใช้กันในภายหลังที่ใช้เรียกชุมนุมนักบวชที่ถือวินัยเบเนดิกติน นอกจากนั้นคำว่า “คณะ” (Order) ที่เข้าใจก็หมายความเพียงว่าเป็นชุมนุมของนักบวชที่เป็นอิสระจากชุมนุมชนอื่น<ref>Called into existence by Pope Leo XIII's Apostolic Brief "Summum semper", 12 July 1893, see [http://www.osb-international.info/index/en.html OSB-International website]</ref>
 
ความสำเร็จสูงสุดของคณะเบเนดิกตินคือ “วินัยนักบวช” ที่เป็นกฏบัตรกฎบัตรสำหรับนักบวชที่ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากข้อเขียนของ[[นักบุญจอห์น คาสเซียน]] (John Cassian) และมีความคล้ายคลึงกับ “Rule of the Master” ที่เขียนโดยผู้ไม่ทราบนามในคริสต์ศตวรรษที่ 6 แต่ก็มีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ในทางสมดุลย์สมดุลทางจิตใจ, ความพอประมาณ และความมีเหตุมีผล (επιεικεια, “'epieikeia”) ซึ่งเป็นสิ่งที่เป็นแรงดึงดูดที่ทำให้เกิดการก่อตั้งอาราม[[ลัทธิเบ็นนาดิคติน|คณะเบเนดิกติน]]ไปทั่วยุโรปใน[[ยุคกลาง]] ซึ่งทำให้กฏกฎของคณะเบเนดิกตินเป็นหนึ่งในกฏบัตรกฎบัตรของคริสต์ศาสนาในคริสตจักรตะวันตก ฉะนั้นนักบุญเบเนดิกต์จึงได้ชื่อว่าเป็นผู้วางรากฐานของอารามของคริสตจักรตะวันตก
 
== อ้างอิง ==