ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขตมิสซังนครราชสีมา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
บทความมีความยาวพอควรแล้ว นำป้ายสั้นมากออก
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: แทนที่คำ
บรรทัด 19:
 
== การตั้งวัดที่นครราชสีมา ==
การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรถึงการตั้งกลุ่มคริสตชนที่โคราช มีการบันทึกว่า ในปี 2448/1905 พระคุณเจ้ากืออัสมีความประสงค์ที่จะเปิดวัดอย่างถาวรที่โคราช ท่านได้แต่ง ตั้งให้คุณพ่ออัลแทล์ม แอ๊กซ์โกฟฟอง(ANTHELME EXCOFFON) เป็นผู้เปิดวัดที่นั่น ซึ่งก่อนหน้านั้นคุณพ่อเคยคิดว่าจะใช้ชีวิตที่สงบสุขที่วัดเชียงยืน เมื่อพระคุณเจ้าได้บอกให้ท่านเตรียมตัวออกจากเชียงยืน ในจดหมายฉบับหนึ่งของ ท่าน ท่านได้ระบายความรู้สึกลำบากใจในการที่ท่านจะต้องปรับตัวให้กลับไปเป็นธร รมฑูตทูตจาริกเช่นเดิมอีก ท่านเขียนเอาไว้ว่า {{คำพูด| ถึงแม้นผมจะได้อ้อนวอน พระคุณเจ้าไม่ให้ส่งผมไปนครราชสีมา ท่านก็ไม่ยอมฟัง ท่านตั้งใจจะส่งผมไป เปิดวัดใหม่ที่นั่น นี่เป็นยาขมที่กลืนยาก….ลาก่อนเชียงยืน…ลาก่อนวัดที่ผมได้สร้างด้วยความยาก ลำบากและยังไม่เสร็จ…ลาก่อนคริสตชนที่ผมรัก ผมได้สร้างสิ่งเหล่านี้ให้ผู้อื่นใช้ ต่อไปผมจะไม่มีวัด ผมไม่ทราบว่าต่อไปนี้ผมจะมีวัดหรือเปล่าและจะมีคริสตชน หรือไม่ ผมจะต้องเป็นนายชุมพาบาลที่ปราศจากฝูงชุมพา จะเป็นธรรมฑูตทูตที่ไม่มีวัด ผมต้องเสียสละโดยเห็นแก่ความรักของพระเป็นเจ้า เพราะผมได้มาก็เพื่อการนี้|}}
 
ในการรายงานประจำปี 2448/1905 พระคุณเจ้ากืออัสได้รายงานเกี่ยวกับการเปิดวัดที่โคราชดังนี้ “จากอุบลฯไปโคราชทางเรือต้องใช้เวลา 8 วัน ทั้งนี้เมื่อมีน้ำเต็มฝั่ง แต่จากกรุงเทพฯไปโคราชโดยรถไฟใช้เวลาเพียง 13 ช.ม.เท่านั้น ข้าพเจ้าจึงคิดอยากจะตั้งศูนย์ที่พัก(ปรอกืร์) สำหรับพวกคุณพ่อที่อยู่ทาง ภาคใต้(แขวงอุบลฯและศีรษะเกษ) เพื่อท่านจะได้วัตถุปัจจัยที่ต้องการง่ายขึ้นและถูกกว่า”
กองเกวียน 3 เล่มออกเดินทางจากหนองแสง 5 ก.พ. โดยมีคุณพ่อโปรดมเป็นผู้นำทาง มีคุณพ่ออัลแทล์ม แอ๊กซ์โกฟฟองและคุณพ่อเปรูดองเป็นผู้ช่วย ทั้งสองได้รับภาระมอบหมายให้เป็น ผู้บุกเบิกตั้งศูนย์ศาสนาคริสต์ในจุดปลายเขตของมิสซังนี้(มิสซังลาว) การเดินทางครั้งนี้ประสบความลำบากยิ่งนัก ก่อนถึงโคราชเพียง 20 กิโลเมตร วัว 2 ตัวหมดแรง ต้องฝากเกวียนเล่มหนึ่งไว้กับชาวบ้าน แต่ในที่สุดก็มาถึง โคราชเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2448/1905 การเดินทางจากหนองแสงถึงโคราชใช้เวลาถึง 41 วัน
(เล่าว่าก่อนการสร้างทางรถไฟสายกรุงเทพฯโคราช ธรรมฑูตคณะแรกๆทูตคณะแรกๆได้เดินทางจากอุบลฯ โดยใช้ทางเกวียนเป็นพาหนะ ผ่านทางที่ขรุขระเป็นหลุมเป็นบ่อและโคลนตม ท่ามกลางป่าเปลี่ยวด้วยความยากลำบากเป็นเวลาถึง 16 วัน ระหว่างการเดินทางได้ พบอุปสรรคต่างๆ เป็นต้น ควายของคณะธรรมฑูตถูกขโมยทูตถูกขโมย ฉะนั้นทุกคืนต่อมา เมื่อได้ยินเสียงผิดปกติ ท่านเหล่านั้นจะร้องว่า “ขโมยๆ” โดยที่ยังไม่รู้ว่าขโมยหรือไม่ ทั้งนี้เพื่อจะให้ขโมยซึ่งอาจจะมี จริงตกใจ เพื่อทำให้เกิดความอบอุ่นใจแก่คณะธรรมฑูตเองทูตเอง)
ใน ระยะแรกๆ ธรรมฑูตทูตขอที่พักที่บ้านกงสุลฝรั่งเศส(ปัจจุบันเป็นสำนักพระสังฆราช) ท่านได้พักอยู่ที่นั่นเป็นเวลา 2 เดือน ฝ่ายผู้ปกครองบ้านเมืองได้ต่อต้านธรรมฑูตอย่างทูตอย่างรุนแรง มีการห้ามชาวบ้านขาย ที่ดินให้ธรรมฑูตทูต มีการขู่ว่าจะฆ่าผู้ที่ฝ่าฝืน จนถึงเวลาที่พระสังฆราชเวย์ได้รับอนุญาตให้ซื้อที่ดินสำหรับท่านทั้งสอง จึงได้ปลูกที่พักสำหรับตนเอง
พระ คุณเจ้ากืออัสได้บันทึกรายงานว่า “ในวันที่ 14 มิ.ย. 2448/1905 คุณพ่อแอ๊กซ์โกฟฟอง ได้ถวายมิสซาเป็นครั้งแรกที่โคราช …คุณพ่อแอ๊กซ์โกฟฟองเขียนบันทึกลงวันที่ 11 ส.ค. ว่า….ผู้มาฟังคำสอนกับข้าพเจ้ามี 3 คน ข้าพเจ้าได้พยายามสอนข้อคำสอนสำคัญๆขั้นต้นแก่พวกเขา มีคริสตังชาวอยุธยาคน หนึ่งมาตั้งหลักแหล่งที่โคกกรวดซึ่งอยู่ใกล้กับโคราช เขามาขอแก้บาปรับศีลดังเดิม และได้แจ้งคุณพ่อว่าเขาได้ล้างบาปเด็กคนต่างศาสนา 4 คน ….กลุ่มคริสตชนสำรองกลุ่มแรกมี 10 คน ซึ่งมีเด็กรวมอยู่ด้วย 2 คน ได้รับศีลล้างบาปอย่างสง่าในโรงสวดของเมืองโคราชในวันเสาร์ศักดิ์สิทธิ์ที่ 14 เมษายน 2449/1906