ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต เพิ่ม: ky:СИ өлчөө системи
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: แทนที่คำ
บรรทัด 88:
! [[กิโล]]<ref name="royin">[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน]</ref>
! [[เมกะ]]<ref name="royin" />
! [[จิกะ]]<ref name="royin" /><br />[[กิกะจิกะ]]<ref name="royin" />
! [[เทระ]]<ref name="royin" />
! [[เพนตะ]]
บรรทัด 173:
* สัญลักษณ์ของหน่วยจะถูกเขียนในรูปตัวพิมพ์เล็กเช่น "m", "s", "mol" ยกเว้นแต่สัญลักษณ์ที่ย่อมาจากชื่อบุคคล เช่นหน่วยของ[[ความดัน]]ถูกตั้งตาม[[แบลส ปาสกาล]] ดังนั้นสัญลักษณ์แทนจึงเขียนด้วย "Pa" ในขณะที่หน่วยเต็มจะเขียนด้วย pascal <ref>Ambler Thompson and Barry N. Taylor, (2008), [http://physics.nist.gov/cuu/pdf/sp811.pdf ''Guide for the Use of the International System of Units (SI)''], (Special publication 811), Gaithersburg, MD: National Institute of Standards and Technology, section 6.1.2</ref>
** ข้อยกเว้นสำหรับการเขียนตัวพิมพ์เล็กในสัญลักษณ์คือ[[ลิตร]] "l" ดูคล้ายกับเลข "1" หรือตัวไอใหญ่ ในหลายประเทศจึงแนะนำให้ใช้ "L" ซึ่งได้รับการยอมรับการประชุมมาตรวิทยาระหว่างประเทศในปี 1979 ใน[[ญี่ปุ่น]]และ[[กรีซ]]ใช้ตัวเอลหวัด (ℓ) แทนลิตร แต่ไม่ได้ถูกกำหนดเป็นมาตรฐานแต่อย่างใด
* คำนำหน้าหน่วยให้เขียนติดกับหน่วยโดยไม่มีเครื่องหมายวรรคตอนมาคั่นเช่น "k" ใน "km", "M" ใน "MPa", "G" ใน "GHz") และห้ามใช้คำนำหน้าหน่วยซ้อนกันเช่นห้ามใช้ กิโลกิโลเฮิรตซ์ แต่ต้องใช้ กิกะจิกะเฮิรตซ์ และหากคำนำหน้าหน่วยไม่พอ ให้ใช้สัญกรณ์วิทยาศาสตร์หรือคำนำหน้าหน่วยและตัวเลขที่เหมาะสมแทนเช่น 600 นาโนเมตร หรือ {{val|6|e=-7|u=m}}
* สัญลักษณ์คำหน้าหน่วยที่ใหญ่กว่า 10<sup>3</sup> (kilo) ให้ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ <ref>Ambler Thompson and Barry N. Taylor, (2008), [http://physics.nist.gov/cuu/pdf/sp811.pdf ''Guide for the Use of the International System of Units (SI)''], (Special publication 811), Gaithersburg, MD: National Institute of Standards and Technology, section 4.3.</ref>
* สัญลักษณ์ของหน่วยจะไม่เป็นพหูพจน์เช่น "25&nbsp;kg" ไม่ใช่ "25&nbsp;kgs".<ref name="BIPM2006Ch5" />