ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไซโลโฟน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
เนื้อหาซ้ำซ้อน
บรรทัด 1:
{{ตรวจลิขสิทธิ์}}
'''ไซโลโฟน''' ({{lang-en|Xylophone}}) เป็นเครื่องดนตรีประเภท[[เครื่องกระทบ]](Percussion Instruments) ชนิดที่มีระดับเสียงแน่นอน (Definite Pitch) เป็นระนาดไม้ขนาดเล็กของดนตรีตะวันตก ลักษณะทั่วไปจะคล้ายกับ[[มาริมบา]] หรือ[[ไวบราโฟน]] แต่ไวบราโฟนทำจากโลหะ และมีขนาดใหญ่กว่าไซโลโฟน ลูกระนาดของไซโลโฟนทำด้วยไม้เนื้อแข็ง เช่น โร้สวูด เป็นต้น จัดเรียงลำดับเสียงตาม[[บันไดเสียงโครมาติก]] (Chromatic) เช่นเดียวกับ[[เปียโน]]หรือ[[ออร์แกน]] ใต้ลูกระนาดมีท่อโลหะติดอยู่เพื่อเป็นตัวขยายเสียง คาดว่ามีต้นกำเนิดมาจากแอฟริกา และเอเชีย
 
ไม้ 2 อันที่ใช้ตีเรียกว่า ลูกค้อน ลักษณะตรงปลายเป็นหัวกลม ความกว้างของช่วงเสียงขึ้นอยู่กับขนาดของไซโลโฟน ซึ่งมีด้วยกัน 3 ลักษณะคือ เล็ก กลาง ใหญ่
เสียงของไซโลโฟน คล้ายเสียงระนาดของบ้านเรา คือ แกร่ง คม สั้นห้วน และชัดเจน ใช้เล่นไล่เสียง และเล่น “กลิสซานโต” ได้ดีเป็นพิเศษ และเหมาะที่จะใช้เป็นเครื่องดนตรีเล่นเดี่ยวทำนองเพลงหรือเพิ่มสีสันของวงดุริยางค์ให้งดงามขึ้น แซงท์-ซองส์ได้นำมาใช้ในวงดุริยางค์เป็นครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1874 ในเพลง “danse macabre” บรรยายถึงโครงกระดูกผีกระทบกัน
 
== ประวัติ ==
ไซโลโฟน หรือ ระนาดสากล เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีกระทบ(Percussion Instruments)ชนิดที่มีระดับเสียงแน่นอน (Definite Pitch) เป็นระนาดไม้ขนาดเล็กของดนตรีตะวันตก ใช้บรรเลงในวง Orchestra ลักษณะทั่วไปจะคล้ายกับมาริมบา หรือไวบราโฟน แต่ขนาดเล็กกว่า ลูกระนาดทำด้วยไม้เนื้อแข็ง ใต้ลูกระนาดมีท่อโลหะติดอยู่เพื่อเป็นตัวขยายเสียง
ไซโลโฟน (จากภาษากรีกคำว่า ξύλον - xylon, "ไม้" [1] + φωνή-PHONE, "เสียง" เมื่อนำมารวมกันหมายถึง"เสียงไม้") เป็นเครื่องดนตรีในประเภทเครื่องกระทบที่ประกอบด้วยไม้ และท่อโลหะเพื่อทำให้เกิดการขยายเสียง จัดเรียงตามบันไดเสียงแบบโครมาติก อยู่ในประเภทเครื่องดนตรีที่มีระดับเสียงแน่นอน เกิดเสียงโดยการตีกระทบ ส่วนใหญ่ตีกระทบเป็นทำนองเพลงได้ ลักษณะคล้ายกับระนาดของไทย คาดว่ามีต้นกำเนิดมาจากแอฟริกา และเอเชีย
ไซโลโฟน Xylophone เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องกระทบ(Percussion Instruments) ชนิดที่มีระดับเสียงแน่นอน (Definite Pitch) เป็นระนาดไม้ขนาดเล็กของดนตรีตะวันตก ลักษณะทั่วไปจะคล้ายกับมาริมบา หรือไวบราโฟน แต่ไวบราโฟนทำจากโลหะ และมีขนาดใหญ่กว่าไซโลโฟน ลูกระนาดของไซโลโฟนทำด้วยไม้เนื้อแข็ง เช่น โร้สวูด เป็นต้น จัดเรียงลำดับเสียงตามบันไดเสียงโครมาติก (Chromatic) เช่นเดียวกับเปียโนหรือออร์แกน ใต้ลูกระนาดมีท่อโลหะติดอยู่เพื่อเป็นตัวขยายเสียง คาดว่ามีต้นกำเนิดมาจากแอฟริกา และเอเชีย
ไม้ 2 อันที่ใช้ตีเรียกว่า ลูกค้อน ลักษณะตรงปลายเป็นหัวกลม ความกว้างของช่วงเสียงขึ้นอยู่กับขนาดของไซโลโฟน ซึ่งมีด้วยกัน 3 ลักษณะคือ เล็ก กลาง ใหญ่
เสียงของไซโลโฟน คล้ายเสียงระนาดของบ้านเรา คือ แกร่ง คม สั้นห้วน และชัดเจน ใช้เล่นไล่เสียง และเล่น “กลิสซานโต” ได้ดีเป็นพิเศษ และเหมาะที่จะใช้เป็นเครื่องดนตรีเล่นเดี่ยวทำนองเพลงหรือเพิ่มสีสันของวงดุริยางค์ให้งดงามขึ้น แซงท์-ซองส์ได้นำมาใช้ในวงดุริยางค์เป็นครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1874 ในเพลง “danse macabre” บรรยายถึงโครงกระดูกผีกระทบกัน
ประวัติของ ไซโลโฟน
ไซโลโฟน (จากภาษากรีกคำว่า ξύλον - xylon, "ไม้" [1] + φωνή-PHONE, "เสียง" เมื่อนำมารวมกันหมายถึง"เสียงไม้") เป็นเครื่องดนตรีในประเภทเครื่องกระทบที่ประกอบด้วยไม้ และท่อโลหะเพื่อทำให้เกิดการขยายเสียง จัดเรียงตามบันไดเสียงแบบโครมาติก อยู่ในประเภทเครื่องดนตรีที่มีระดับเสียงแน่นอน เกิดเสียงโดยการตีกระทบ ส่วนใหญ่ตีกระทบเป็นทำนองเพลงได้ ลักษณะคล้ายกับระนาดของไทย คาดว่ามีต้นกำเนิดมาจากแอฟริกา และเอเชีย
ประวัติ=== ไซโลโฟนตะวันตก ===
ใช้งานครั้งแรกในยุโรปในยุค 1860 ครั้งแรกที่ใช้ในยุโรปเป็นยุค คามิลล์ Saint-Saëns '"เต้นระบำดาว" ในปี 1874 ได้รับความนิยมในระดับหนึ่ง ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีที่ทำจากไม้ 28 บาร์ ในรูปแบบเสียงแบบครึ่งเสียง semitones ในรูปแบบของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ถูกนำไปร่วมเล่นในคอนเสิร์ตสวนวิพิธทัศนาและเป็นสิ่งแปลกใหม่ในการแสดงคอนเสิร์ตซิมโฟนี เครื่องดนตรีที่เกี่ยวข้องส่วนใหญ่กับการดนตรีพื้นบ้านของยุโรปตะวันออก ไซโลโฟนถูกใช้โดยวงดนตรีแจ๊สในช่วงต้น และได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ประวัติศาสตร์=== ไซโลโฟนเอเชีย ===
ตามบันทึกเก่าแก่ของชนชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแอฟริกาพบว่า เมื่อกลุ่มของประชาชนที่พูดภาษามาลาโย-โปลีนีเซียอพยพไปยังทวีปแอฟริกา มีหลักฐานชิ้นหนึ่งพบว่า รูปแบบของไซโลโฟนหรือระนาดมีความคล้ายคลึงกันระหว่างแอฟริกากับเอเชียตะวันออกและออเคสตร้าระนาดชวาและออเคสตร้าแบบบาหลีมโหรี
 
ตามบันทึกเก่าแก่ของชนชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแอฟริกาพบว่า เมื่อกลุ่มของประชาชนที่พูดภาษามาลาโย-โปลีนีเซียอพยพไปยังทวีปแอฟริกา มีหลักฐานชิ้นหนึ่งพบว่า รูปแบบของไซโลโฟนหรือระนาดมีความคล้ายคลึงกันระหว่างแอฟริกากับเอเชียตะวันออกและออเคสตร้าระนาดชวาและออเคสตร้าแบบบาหลีมโหรี
 
หลักฐานเก่าแก่ที่สุดของระนาดมาจากศตวรรษที่ 9 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้พบว่ามีรูปแบบของเครื่องดนตรีที่คล้ายกัน ในจีนไซโลโฟนถูกนำมาใช้ในศาสนาฮินดูเพื่อประกอบในศาสนพิธี แถบชวาและบาหลีและ ส่วนต่างๆจะพบเครื่องดนตรีที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันและแตกต่างกันไปตามวัฒนธรรม เช่น แอฟริกา, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย, ไทย, และอเมริกา จนเครื่องดนตรีถูกนำไปพัฒนาจนกลายเป็นสภาพสมบรูณ์ที่เป็นสากลในปัจจุบัน