ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนามาณีกี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า นิกายเม้งก่า ไปยัง ศาสนามาณีกี: ตามพจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล
แปลใหม่หมด
บรรทัด 1:
{{ลัทธินอสติก}}
{{issues|โฆษณา=yes|ต้องการอ้างอิง=yes}}
{{ความหมายอื่น|ลัทธิ|วรรณกรรม|มังกรหยก}}
'''ศาสนามาณีกี'''<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 186</ref> เป็น[[ศาสนา]]แบบ[[ไญยนิยม]]ที่มีต้นกำเนิดใน[[จักรวรรดิเอรานชาหร์]] มี[[พระมาณี]]เป็นศาสดา แม้ว่างานเขียนของท่านจะหายสาบสูญไปทั้งหมดแล้ว แต่ยังคงมีฉบับแปลในภาษาต่าง ๆ ตกทอดมาถึงปัจจุบัน
'''เม้งก่า''' หรือ '''ตอล้อซิ่งก่า''' เป็นลิทธิที่มีจริงๆ ในประวติศาสตร์[[จีน]] ที่เผยแพร่มาจาก[[เปอร์เชีย]] ([[ประเทศอิหร่าน]] ในปัจจุบัน)ในสมัย[[ราชวงศ์ถัง]] มีอีกชื่อหนึ่งว่า [[โซโรอัสเตอร์]] และ [[จูหยวนจาง]] ก็เป็นสาวกลัทธินี้ด้วย
 
ศาสนามาณีกีสอนเชิง[[จักรวาลวิทยา]]ว่าจักรวาลแบ่งออกเป็นของด้าน คือด้าน[[ความดี]]งาม [[จิตวิญญาณ]] และ[[ความสว่าง]] กับ[[ความชั่ว]]ร้าย [[วัตถุ]] และ[[ความมืด]] สันนิษฐานว่าศาสนามาณีกีได้รับแนวคิดนี้มาจากแนวคิดของพวกไญยนิยมใน[[เมโสโปเตเมีย]]<ref>Widengren, Geo ''Mesopotamian elements in Manichaeism (King and Saviour II): Studies in Manichaean, Mandaean, and Syrian-gnostic religion'', Lundequistska bokhandeln, 1946.</ref>
นิกายเม้งก่า (พรรคจรัสหรือพรรครุ่งเรือง) - มีที่มาจากเปอร์เซีย (น่าจะแถวอิหร่าน) บูชาเทพอัคคี แต่เกิดการแก่งแย่งในนิกายทำให้เกือบแตกสลาย ภายหลังได้[[เตียบ่อกี้|บ่อกี๋]]มาเป็นประมุข นิกายจึงเจริญขึ้นและยิ่งใหญ่ในยุทธภพ ภายในนิกายบังคับบัญชาในระบบอาวุโส คือ ประมุข ทูตซ้าย-ขวา สี่ผู้คุมกฎ ได้แก่ มังกรเสื้อม่วง อินทรีคิ้วขาว ราชสีห์ขนทอง ค้างคาวปีกเขียว รองลงมาก็คือ ห้าพเนจร ในด้านกำลังพล มีห้ากองธง และมี “[[จูหยวนจาง]] (จูหงวนจัง)” เป็นผู้กุมกำลังพล ภายหลังคนผู้นี้ ได้ทรยศบ่อกี๋ และนำกำลังของนิกายขับไล่[[มองโกล]]ออกไปจาก[[ต้าซ้อง]]ได้สำเร็จ แล้วสถาปนาตนเองเป็นปฐมกษัตริย์แห่ง[[ราชวงศ์หมิง]] (เหม็งหรือเม้ง ที่แปลว่า สว่าง ก็ได้) ซึ่งชื่อราชวงศ์ก็มาจากชื่อของนิกายเม้งก่านั่น
 
ศาสนามาณีกีแพร่หลายมากในภูมิภาคที่ใช้[[ภาษาแอราเมอิก]]และซิเรียก<ref name="BeDuhnMirecki2007">{{cite book|author1=Jason BeDuhn|author2=Paul Allan Mirecki|title=Frontiers of Faith: The Christian Encounter With Manichaeism in the Acts of Archelaus|url=http://books.google.com/books?id=JQd8b5s5QBUC&pg=PA6|accessdate=27 August 2012|year=2007|publisher=BRILL|isbn=978-90-04-16180-1|pages=6–}}</ref>ราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 - 7 จนกลายเป็นศาสนาที่แพร่หลายมากที่สุดในโลกศาสนาหนึ่งในยุคนั้น ศาสนจักรมาณีกีแพร่ไปทางตะวันออกไกลถึง[[ประเทศจีน]] และทางตะวันตกไกลถึง[[จักรวรรดิโรมัน]]<ref>Andrew Welburn, ''Mani, the Angel and the Column of Glory: An Anthology of Manichaean Texts'' (Edinburgh: Floris Books, 1998), p. 68</ref> โดยมีศาสนิกชนส่วนมากเป็นทหาร จนได้ชื่อว่าเป็นศาสนาของกองทัพ และกลายเป็นคู่แข่งของ[[ศาสนาคริสต์]] แทน[[ลัทธิเพกัน]]ที่เสื่อมไปก่อนหน้านั้นแล้ว ศาสนามาณีกีในภูมิภาคตะวันออกดำรงอยู่นานกว่าทางตะวันตก โดยโดยเสื่อมสลายไปราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ทางใต้ของจีน<ref>[[Jason BeDuhn|Jason David BeDuhn]] ''The Manichaean Body: In Discipline and Ritual'' Baltimore: Johns Hopkins University Press. 2000 republished 2002 p.IX</ref>
 
ศาสนิกชนของศาสนานี้เรียกว่าชาวมาณีกีหรือชาวมาณีเชียน ซึ่งในปัจจุบันคำว่ามาณีเชียนได้ใช้หมายรวมถึงผู้มีแนวคิดทาง[[จริยศาสตร์]]รูปแบบหนึ่งที่มอง[[ศีลธรรม]]แบบ[[ทวินิยม]] คือมีความดีความชั่วอยู่จริง และอยู่แยกกันต่างหากอย่างชัดเจน
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ศาสนา]]