ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สิทธิสตรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แจ้งต้องการวิกิลิงก์ +เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ต้องการวิกิลิงก์}}
{{ปรับภาษา}}
'''สิทธิสตรี''' ({{lang-en|Women's rights}}) คือ สิทธิและการให้สิทธิแก่สตรีและเด็กหญิงในสังคมต่างๆ ทั่วโลก
เส้น 9 ⟶ 10:
=== ประเทศจีน ===
สถานะของผู้หญิงในประเทศจีนอยู่ในสถานะที่ต่ำ โดยส่วนใหญ่แล้วมีสาเหตุมาจากขนบธรรมเนียมประเพณีเท้าดอกบัว (foot binding) ผู้หญิงชาวจีนคิดเป็นร้อยละ 45 มีเท้าดอกบัวในช่วงศตวรรษที่ 19 ในระดับชนชั้นที่สูงขึ้นพบว่ามีเท้าดอกบัวเกือบ 100% ในปี ค.ศ. 1912 รัฐบาลจีนสั่งให้มีการสิ้นสุดการมีเท้าดอกบัว เท้าดอกบัวมีส่วนสัมพันธ์กับโครงสร้างกระดูกเปลี่ยนแปลงเพื่อให้เท้ามีความยาวเพียงแค่ประมาณ 4 นิ้ว เท้าดอกบัวก่อให้เกิดความยากลำบากในการเคลื่อนไหวดังนั้นจึงทำให้การทำกิจกรรมต่างๆของสตรีมีจำกัด
มีขนบธรรมเนียมประเพณีทางสังคม คือ ผู้ชายและผู้หญิงไม่ควรอยู่ใกล้กัน ดังนั้นหญิงชาวจีนจึงมีความลังเลในการเข้ารับการรักษาโดยแพทย์ชายที่มีการรักษาตามแบบการแพทย์แผนตะวันตก สิ่งนี้ส่งผลให้เกิดความต้องการแพทย์หญิงอย่างมากในการให้การรักษาตามแบบการแพทย์แผนตะวันตกในประเทศจีน ดังนั้นมิชชันนารีชาวอเมริกันจากคณะอเมริกันบอร์ดจากโบสถ์เพรสบีเทอเรียน (Presbyterian Church) จึงได้ส่งตัวแพทย์หญิงมิชชันนารี ด็อกเตอร์ Mary H. Fulton (ในปี ค.ศ. 1854-1927) <ref> http://www.amazon.com/Inasmuch-Mary-H-Fulton/dp/1140341804 </ref> เพื่อไปก่อตั้งวิทยาลัยแพทยศาสตร์แห่งแรกสำหรับสตรีในประเทศจีน วิทยาลัยนี้เป็นที่รู้จักกันในนาม Hackett Medical College for Women <ref> http://www.hkbu.edu.hk/~libimage/theses/abstracts/b15564174a.pdf </ref><ref> http://www.cqvip.com/qk/83891A/200203/6479902.html </ref> วิทยาลัยนี้ตั้งอยู่ในนครกว่างโจว (Guangzhou) ประเทศจีนและได้รับเงินบริจาคจำนวนมากจากคุณ Edward A.K. Hackett (ในปี ค.ศ. 1851-1916) จากรัฐอินดีแอนา (Indiana) ประเทศสหรัฐอเมริกา วิทยาลัยนี้มุ่งหวังในการเผยแพร่ศาสนาคริสต์และการแพทย์แผนปัจจุบันและการยกระดับสถานะทางสังคมของหญิงชาวจีน<ref name="RebeccaChan"> Rebecca Chan Chung, Deborah Chung and Cecilia Ng Wong, "Piloted to Serve", 2012 </ref><ref name="facebook"> https://www.facebook.com/PilotedToServe </ref>
 
=== ประเทศกรีซ (Greece) ===
เส้น 17 ⟶ 18:
ในนครรัฐเอเธนส์ (Athens) สมัยโบราณ สตรีไม่มีความเป็นมนุษย์ตามกฎหมายและถือว่าเป็นอย่างส่วนหนึ่งของ oikos (ภาษากรีก ซึ่งแปลว่า “บ้าน” หรือ “ที่อยู่ศัย”) ผู้ชายเป็นอย่างผู้นำ เป็นอย่าง kyrios (ภาษากรีก ซึ่งแปลว่า “องค์พระผู้เป็นเจ้า”) ผู้หญิงจะอยู่ภายใต้การปกครองของบิดาตนหรือญาติคนอื่นซึ่งเป็นเพศชายจนกว่าจะมีการแต่งงาน และเมื่อมีการแต่งงานไปสามีจะกลายมาเป็นพระเจ้าของตน ผู้หญิงถูกห้ามจากการมีส่วนในกระบวนการพิจารณาตามกฎหมาย (legal proceedings) แต่ผู้ชายที่มีฐานะเป็นอย่างพระเจ้าสามารถทำสิ่งดังกล่าวได้ในนามของตน<ref name="google114">{{Cite book| last = Blundell| first =Sue| title = Women in ancient Greece, Volume 1995, Part 2| publisher = Harvard University Press| year = 1995| page = 114| url = http://books.google.com/?id=Xfx1VaSIOgQC&printsec=frontcover&dq=women+ancient+greece#v=onepage&q=women%20athens&f=false| isbn = 978-0-674-95473-1}}</ref>
ผู้หญิงแห่งนครเอเธนส์มีสิทธิจำกัดในทรัพย์สิน ดังนั้นจึงไม่ถือว่ามีความพลเมืองอย่างเต็มที่ เนื่องจากว่าคำว่า ความเป็นพลเมือง (citizenship) และการมีสิทธิ์ (entitlement) ในเรื่องพลเมืองและการเมืองมีความหมายสัมพันธ์กับทรัพย์สินและวิถีต่างๆในชีวิต<ref>{{Cite book| last = Gerhard| first = Ute| title = Debating women’s equality: toward a feminist theory of law from a European perspective| publisher = Rutgers University Press| year = 2001| page = 35| url = http://books.google.com/?id=XMohyLfGDDsC&dq=women+right+to+property| isbn = 978-0-8135-2905-9}}</ref> แต่อย่างไรก็ตามผู้หญิงสามารถได้รับสิทธิในทรัพย์สินจากของขวัญ สินสมรส (dowry) และมรดก (inheritance) แม้ว่าผู้ชายซึ่งเป็นพระเจ้าของตนมีสิทธิในการนำทรัพย์สินของผู้หญิงออกไป<ref>{{Cite book| last = Blundell| first =Sue| title = Women in ancient Greece, Volume 1995, Part 2| publisher = Harvard University Press| year = 1995| page = 115| url = http://books.google.com/?id=Xfx1VaSIOgQC&printsec=frontcover&dq=women+ancient+greece#v=onepage&q=women%20athens&f=false| isbn = 978-0-674-95473-1}}</ref> ผู้หญิงแห่งนครเอเธนส์สามารถมีส่วนในการทำสัญญาซึ่งมีค่าน้อยกว่า “หน่วยวัดปริมาตร medimnos ของข้าวบาร์เล่ย์ ” (medimnos เป็นภาษากรีก ซึ่งเป็นหน่วยวัดปริมาณของข้าว) การมีสิทธิในการทำสัญญานี้ช่วยให้ผู้หญิงมีส่วนในการค้าย่อย (petty trading) <ref name="google114"/> ผู้หญิงซึ่งเป็นอย่างทาสไม่มีคุณสมบัติในการเป็นพลเมืองที่เต็มที่ในนครเอเธนส์สมัยโบราณแม้ว่าในบางสถานการณ์ที่เกิดขึ้นนานๆครั้งที่ผู้หญิงสามารถกลายมาเป็นพลเมืองได้ถ้าได้รับอิสรภาพ ดังนั้น เครื่องกีดกันที่ถาวรเพียงแค่อย่างเดียวเท่านั้นในความเป็นพลเมือง การมีสิทธิพลเมืองและสิทธิการเมืองได้อย่างเต็มที่ คือ เรื่องเพศ ในนครเอเธนส์สมัยโบราณไม่มีผู้หญิงคนใดเคยได้รับความเป็นพลเมือง ดังนั้นในเชิงหลักการและเชิงปฏิบัติ ผู้หญิงไม่ได้รับการพิจารณารวมอยู่ในการปกครองแบบประชาธิปไตยแห่งนครเอเธนส์ในสมัยโบราณ<ref>{{Cite book| last = Robinson| first = Eric W.| title = Ancient Greek democracy: readings and sources| publisher = Wiley-Blackwell| year = 2004| page = 302| url = http://books.google.com/?id=Jug6crxEImIC&dq=Aristophanes+ecclesiazusae+women%27s+rights| isbn = 978-0-631-23394-7 }}</ref>
ในทางตรงกันข้าม ผู้หญิงแห่งเมืองสปาร์ตามีความสุขกับสถานะ อำนาจ และการไม่เป็นที่รู้จักในโลกคลาสสิก แม้ว่าผู้หญิงแห่งเมืองสปาร์ตาไม่ได้รับเลือกให้เข้ารับราชการทหารและถูกคัดออกจากการมีชีวิตที่เกี่ยวข้องกับการเมือง แต่ผู้หญิงเหล่านี้ก็มีความสุขในฐานะที่เป็นมารดาของนักรบชาวเมืองสปาร์ตา ขณะที่ผู้ชายมีส่วนร่วมในราชการทหาร ผู้หญิงจะทำหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินการเรื่องทรัพย์สินที่ดิน ในช่วงศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราชผู้หญิงชาวเมืองนี้จะติดตามสวัสดิการยืดเยื้อ เป็นเจ้าของที่ดินเมืองสปาร์ตาและทรัพย์สินทั้งหมด คิดเป็นประมาณ 35% ถึง 40%<ref name="Pomeroy"/><ref>{{Cite book| last = Tierney| first = Helen| title = Women’s studies encyclopaedia, Volume 2| publisher = Greenwood Publishing Group| year = 1999| pages = 609–610| url = http://books.google.com/?id=2bDxJW3x4f8C&dq=spartan+women| isbn = 978-0-313-31072-0}}</ref> ภายในสมัยเฮเลนนิสติค (Hellenistic period) ชาวเมืองสปาร์ตาที่มีความมั่งคั่งที่สุดจำนวนหนึ่งเป็นผู้หญิง<ref>Pomeroy, Sarah B. ''Spartan Women.'' Oxford University Press, 2002. p. 137 [http://books.google.com/books?id=c3k2AN1GulYC&printsec=frontcover&dq=Pomeroy+Sarah&hl=en&ei=6bFNTc6xPJHAsAOpqeSaCg&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=2&ved=0CCwQ6AEwAQ#v=onepage&q=ethnicity&f=false]</ref> ผู้หญิงควบคุมทรัพย์สินของตนทั้งหมดรวมไปถึงทรัพย์สินของญาติซึ่งเป็นเพศชายซึ่งออกไปกองทัพ<ref name="Pomeroy">Pomeroy, Sarah B. ''Goddess, Whores, Wives, and Slaves: Women in Classical Antiquity''. New York: Schocken Books, 1975. p. 60-62</ref> การที่ผู้หญิงชาวเมืองสปาร์ตาแต่งงานก่อนอายุ 20 ปีนั้นหาได้ยาก ผู้หญิงชาวเมืองสปาร์ตาแตกต่างจากผู้หญิงชาวเมืองเอเธนส์ ผู้หญิงชาวเมืองเอเธนส์สวมใส่เสื้อผ้าที่หนักและปกปิดร่างกายและไม่ค่อยพบผู้หญิงเหล่านี้นอกบ้าน ส่วนผู้หญิงชาวเมืองสปาร์ตาสวมชุดกระโปรงสั้นและไปในสถานที่ที่ตนอยากไป<ref>Pomeroy, Sarah B. ''Spartan Women.'' Oxford University Press, 2002. p. 134 [http://books.google.com/books?id=c3k2AN1GulYC&printsec=frontcover&dq=Pomeroy+Sarah&hl=en&ei=6bFNTc6xPJHAsAOpqeSaCg&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=2&ved=0CCwQ6AEwAQ#v=onepage&q=ethnicity&f=false]</ref> เด็กผู้หญิงได้รับการศึกษาเช่นเดียวกับเด็กผู้ชายและหญิงสาวมีส่วนร่วมใน Gymnopaedia ("เทศกาลเปลือยกายของหนุ่ม Nude Youths") เช่นเดียวกับชายหนุ่มที่มีส่วนร่วม<ref name="Pomeroy"/><ref>{{Harvnb|Pomeroy|2002|p=34}}</ref>
 
เพลโต (Plato) ทราบว่าการให้สิทธิการเมืองและพลเมืองแก่ผู้หญิงจะเปลี่ยนแปลงลักษณะของทั่วไปของครอบครัวและรัฐไปอย่างมาก[18] อริสโตเติลซึ่งได้รับคำสอนจากเพลโต อริสโตเติลได้ปฏิเสธเรื่องที่ว่าผู้หญิงคือทาสหรือขึ้นอยู่กับทรัพย์สิน อริสโตเติลแย้งว่า “ธรรมชาติได้แยกความแตกต่างระหว่างผู้หญิงและทาส” แต่อริสโตเติลคิดว่าภรรยาเป็นอย่าง “สิ่งที่ซื้อมา” อริสโตเติลแย้งว่ากิจกรรมทางเศรษฐกิจหลักของผู้หญิง คือ การทำหน้าที่ดูแลทรัพย์สินภายในบ้านที่ผู้ชายได้หามา จากการติดตามแนวคิดของอริสโตเติล แรงงานผู้หญิงไม่มีค่าเนื่องจาก “ศิลปะในการจัดการบ้านเรือน” ไม่มีความคล้ายคลึงกับศิลปะในการสร้างความร่ำรวยมั่งคั่ง เนื่องจากว่าเป็นบุคคลที่ใช้สิ่งซึ่งอีกฝ่ายสร้างขึ้น”[19]
 
นักปรัชญาลัทธิสโตอิกมีแนวคิดที่ตรงกันข้ามกับแนวคิดดังกล่าว ได้แย้งเรื่องความเท่าเทียมทางเพศ ความไม่เท่าเทียมทางเพศ เป็นแนวคิดที่ขัดแย้งกับกฎธรรมชาติ[20] ในข้อโต้แย้งดังกล่าวนั้นนักปรัชญาเหล่านี้ได้ติดตามแนวคิดของลัทธิซีนิกส์ (Cynics) ซึ่งแย้งว่าผู้ชายและผู้หญิงควรจะสวมเสื้อผ้าที่เหมือนกันและได้รับการศึกษาแบบเดียวกัน[20] และนักปรัชญาเหล่านี้ก็มองว่าการแต่งงานเป็นอย่างการเป็นเพื่อนทางศีลธรรม (moral companionship) ระหว่าง 2 ฝ่ายที่เท่าเทียมกันนอกจากความจำเป็นทางสังคมหรือทางชีวภาพ นักปรัชญาก็นำแนวคิดเหล่านี้ไปใช้ในชีวิตตนและไปใช้ในการสอน[20] ลัทธิสโตอิกนำแนวคิดของลัทธิซีนิกส์มาใช้และนำไปเพิ่มในทฤษฎีเรื่องธรรมชาติของมนุษย์ ดังนั้นนักปรัชญาจึงเพิ่มเรื่องความเสมอภาคทางเพศรวมอยู่ในพื้นฐานทางปรัชญาเป็นพื้นฐานที่หนักแน่น [20]
 
=== กรุงโรมสมัยโบราณ ===
 
[[ไฟล์:Fulvia Antonia.jpg|thumbnail]]
Fulvia (ฟูลเวีย) ภรรยาของ Mark Antony (มาร์ค แอนโทนี่) บังคับบัญชากองทัพระหว่างช่วงสงครามกลางเมืองของชาวโรมัน (Civil wars) และเป็นสตรีคนแรกซึ่งภาพเหมือนของตนปรากฏอยู่บนเหรียญโรมัน[21]
 
ผู้หญิงที่เกิดมาอย่างอิสระในกรุงโรมสมัยโบราณเป็นพลเมืองซึ่งมีความพึงพอใจกับสิทธิพิเศษทางกฎหมายและการได้รับความคุ้มครองทางกฎหมาย ซึ่งสิทธิพิเศษและการคุ้มครองนี้ไม่ได้ขยายขอบเขตไปถึงผู้ที่ไม่ใช่พลเมืองหรือทาส แต่อย่างไรก็ตามสังคมโรมันเป็นสังคมอำนาจฝ่ายบิดา (patriarchal) และผู้หญิงไม่สามารถออกเสียงเลือกตั้ง หรือดำรงตำแหน่งสาธารณะหรือเข้ารับราชการทหาร[22] ผู้หญิงในชนชั้นที่สูงขึ้นใช้อิทธิพลทางการเมืองผ่านทางการสมรสและความเป็นมารดา ระหว่างช่วงสมัยสาธารณรัฐโรมัน (Roman Republic) มารดาของพี่น้องกรรักชุช (Gracchus) และของจูเลียส ซีซาร์ (Julius Caesar) เป็นอย่างสตรีที่น่าเอาอย่างซึ่งเป็นผู้ทำให้อาชีพของลูกชายมีความก้าวหน้า ในระหว่างช่วงโรมันสมัยจักรวรรดิ (Imperial Period) สตรีของครอบครัวจักรพรรดิสามารถได้รับอำนาจทางการเมืองได้เป็นอย่างมากและจะมีการบรรยายถึงสตรีเหล่านั้นอยู่เป็นประจำในงานศิลปะที่ดูเป็นทางการและในระบบเงินเหรียญ Plotina (โปลตินา) ใช้อิทธิพลต่อสามีของหล่อน จักรพรรดิทราจัน (Trajan)
และทายาทฮาเดรียน (Hadrian ) ข้อมูลทางจดหมายและคำร้องเรียนของโปลตินาในเรื่องต่างๆที่เป็นทางการแพร่พรายสู่สาธารชน ข้อมูลเหล่านั้น คือ เครื่องหมายแสดงให้เห็นว่าแนวคิดของหล่อยถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างแนวคิดที่เป็นที่นิยม[23]
 
สถานะพลเมืองของบุตรกำหนดโดยใช้สถานะของมารดา ทั้งลูกสาวและลูกชายอยู่ภายใต้ patria potestas (อาญาสิทธิ์พ่อบ้าน) ซึ่งเป็นอำนาจปกครองโดยบิดาของตน บิดาเป็นอย่างหัวหน้าครอบครัว (paterfamilias=บิดาเป็นหัวหน้าครอบครัว) ในช่วงจักรพัตราธิราช (อยู่ระหว่างศตวรรษที่ 1-2) สิทธิทางกฎหมาย (legal standing) ของลูกสาวมีความแตกต่างเล็กน้อยจากสิทธิทางกฎหมายของลูกชาย[24] เด็กหญิงมีสิทธิทางมรดกที่เท่าเทียมกันกับเด็กชายถ้าบิดาของตนเสียชีวิตโดยไม่ได้ทำพินัยกรรมไว้[25]
 
[[ไฟล์:Dextrorum iunctio edited.JPG|thumbnail]]
คู่หนึ่งกำลังจับมือกันอย่างแน่นในพิธีสมรส ภาพนี้เป็นแนวคิดของชาวโรมัน เป็นอย่างองค์ประกอบพื้นฐานของสังคมและเป็นอย่างสิ่งแสดงถึงเพื่อนคู่เคียงซึ่งมีส่วนในการให้กำเนิดบุตรและเลี้ยงดูบุตร จัดการหน้าที่ต่างๆในชีวิตประจำกัน นำพาชีวิตในแบบที่น่าเอาอย่าง และมีความรักที่มีสุข [26]
 
ในช่วงสมัยสาธารณรัฐโรมัน (Roman Republic) ตอนแรกเริ่ม เจ้าสาวเมื่อแต่งงานแล้วจะอยู่ภายใต้การปกครอง หรืออยู่ภายใต้ manus (ซึ่งแปลว่า มือ) ของสามี ซึ่งก่อนแต่งงานจะอยู่ในการปกครองของบิดาตน เจ้าสาวจะอยู่ภายใต้การปกครองของหัวหน้าครอบครัว (เรียกว่า potestas) หรือสามีตน แต่ระดับการปกครองอยู่ในระดับที่น้อยกว่าบุตรของตน[27] รูปแบบการแต่งงานแบบ manus (ซึ่งหมายถึงภายใต้มือหรือการปกครองของสามี) นี้เป็นรูปแบบที่มีการละทิ้งกันแพร่หลายในสมัยจูเลียส ซีซาร์ (Julius Caesar) ในช่วงนั้นผู้หญิงยังคงอยู่ภายใต้อำนาจของบิดาตนตามกฎหมายแม้ว่าตนจะย้ายไปอยู่บ้านสามี เหตุการณ์นี้เป็นอย่างปัจจัยหนึ่งที่แสดงถึงความเป็นอิสระที่หญิงชาวโรมันมีความสุข เป็นเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมโบราณจนถึงวัฒนธรรมในสมัยปัจจุบัน[28] แม้ว่าลูกสาวต้องตอบคำถามบิดาของตนในเรื่องกฎหมายแต่ในชีวิตประจำวันลูกสาวก็เป็นอิสระจากการที่บิดาของตนพิจารณาไตร่ตรองโดยตรงในเรื่องต่างๆเกี่ยวกับกฎหมาย[29] และสามีตนไม่มีอำนาจทางกฎหมายควบคุมหญิงสาว[30] เมื่อบิดาของตนเสียชีวิต หญิงสาวก็จะกลายมาเป็นอิสระตามกฎหมาย (sui iuris).[31] ผู้หญิงที่แต่งงานแล้วมีความเป็นเจ้าของทรัพย์สินใดๆที่ตนนำมาในช่วงพิธีสมรม[32] แม้ว่าจะมีประเด็นเรื่องความภาคภูมิใจในการเป็น “ผู้หญิงที่รักเดียวใจเดียว” (univira) ซึ่งแต่งงานเพียงแค่ครั้งเดียว แต่อย่างไรก็ตามก็เกิดปัญหาขึ้นที่นำไปสู่การหย่าร้าง มีการแต่งงานใหม่ แต่ก็ไม่ได้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วหลังการสูญเสียสามีเนื่องจากการตายหรือการหย่าร้าง[33]
 
หญิงชาวโรมันยังคงเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวที่ให้กำเนิดตนตามกฎหมาย ดังนั้นหญิงชาวโรมันจึงสามารถคงนามสกุลของครอบครัวตนไว้ได้ในชีวิต เด็กส่วนใหญ่มักจะใช้นามสกุลของบิดาตนแต่อย่างไรก็ตามในช่วงจักรพรรดิ บางครั้งก็ใช้นามสกุลของมารดา มารดาของชาวโรมันมีสิทธิในการครอบครองทรัพย์สินและสิทธิในการนำทรัพย์สินไปเมื่อตนเห็นว่าเหมาะสม นอกจากนี้มีสิทธิในการกำหนดเงื่อนไขต่างๆในพินัยกรรมของตน ทำให้มารดาชาวโรมันมีอิทธิพลเหนือบุตรชายของตนเมื่อบุตรเติบโตเป็นผู้ใหญ่[35] เนื่องจากว่าผู้หญิงมีสถานะทางกฎหมายเป็นอย่างพลเมืองคนหนึ่งและสามารถมีอิสรภาพได้ ดังนั้นผู้หญิงจึงสามารถเป็นเจ้าของทรัพย์สิน สิทธิในการทำสัญญา และการมีส่วนร่วมในธุรกิจ[36] ผู้หญิงบางคนได้รับทรัพย์สมบัติมากมายและสามารถนำทรัพย์สมบัติออกไปได้ ได้มีบันทึกเรื่องราวเหล่านี้เป็นข้อความจารึกว่าผู้หญิงเป็นอย่างผู้ได้รับผลประโยชน์ในการจัดหาทุนในการทำงานสาธารณะที่สำคัญ[37]
เส้น 44 ⟶ 45:
ผู้หญิงชาวโรมันสามารถปรากฏตัวในศาลและโต้แย้งคดีต่างๆได้ แม้ว่าโดยธรรมเนียมประเพณีแล้วฝ่ายชายต้องเป็นตัวแทนในการดำเนินคดี[38] ในขณะเดียวกันในเชิงปฏิบัติการด้านกฎหมายนั้นผู้หญิงได้รับการดูหมิ่นว่าขาดความรู้มากเกินไปและมีจิตใจที่อ่อนแอ ตื่นตัวมากเกินไปในเรื่องกฎหมาย สิ่งนี้ส่งให้เกิดตัวบทกฎหมายที่จำกัดผู้หญิงในการดำเนินการคดีในนามตนเองแทนที่ผู้อื่น[39] แม้แต่หลังข้อจำกัดนี้ได้นำมาใช้ ก็มีตัวอย่างมากมายที่ผู้หญิงดำเนินการต่างๆในด้านกฎหมาย รวมไปถึงการออกคำสั่งแก่ทนายความเพศชาย[40]
 
อย่างเช่นในกรณีผู้เยาว์ ผู้หญิงที่ได้รับอิสระจะมีผู้พิทักษ์ซึ่งเป็นเพศชายได้รับการแต่งตั้ง (tutor คือ ผู้พิทักษ์ ผู้ปกครอง) ให้แก่ตน แต่อย่างไรก็ตาม ผู้หญิงยังคงมีอำนาจในการบริหาร เว้นแต่จะมีวัตถุประสงค์อย่างเดียวคือการให้ความยินยอมที่เป็นทางการในเรื่องการกระทำต่างๆ[41] ผู้พิทักษ์ไม่มีสิทธิในการพูดเรื่องชีวิตส่วนตัวของหญิงสาว และหญิงสาวซึ่งบรรลุนิติภาวะ (sui iuris) สามารถแต่งงานตามที่ตนพึงพอใจ[42] และนอกจากนี้ผู้หญิงก็มีวิธีการต่างๆในการขอความช่วยเหลือถ้าตนปรารถนาหาผู้มาทำหน้าที่แทนผู้พิทักษ์ที่กีดขวาง[43] ในเชิงปฏิบัติความเป็นผู้พิทักษ์ค่อยๆจางหายไป และภายในศตวรรษที่ 2 Gaius นักกฎหมายอิสระ (jurist) ไม่คิดว่าการเป็นผู้พิทักษ์เป็นสิ่งที่มีเหตุผล[44]
 
[[ไฟล์:Bronze young girl reading CdM Paris.jpg|thumbnail]]
รูปหล่อเล็กๆสีบรอนซ์ เป็นรูปหญิงสาวกำลังอ่านหนังสือ ( ศตวรรษที่ 1 ในช่วงต่อมา)
 
จักรพรรดิออกุสตุส (Augustus) คนแรกของชาวโรมันกำหนดให้การเลื่อนขึ้นสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นของตนไปมีอำนาจแต่เพียงผู้เดียวเป็นอย่างการกลับไปสู่ความมีศีลธรรมตามประเพณี และได้พยายามออกกฎความประพฤติของผู้หญิงโดยใช้กฎระเบียบทางศีลธรรม ในเรื่องการคบชู้ (adultery) ซึ่งเป็นเรื่องครอบครัวถือว่าเป็นความผิด การคบชู้เป็นการกระทำทางเพศที่ผิดซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ระหว่างพลเมืองชายและหญิงที่แต่งงานแล้ว หรือเกิดขึ้นระหว่างหญิงที่แต่งงานแล้วและชายอื่นที่ไม่ใช่สามีตน มีสองมาตรฐานเกิดขึ้น หญิงที่แต่งงานแล้วสามารถมีสัมพันธ์ทางเพศได้เพียงแค่กับสามารถตน แต่สามีไม่ได้มีการคบชู้เมื่อตนมีเพศสัมพันธ์กับโสเภณี ทาส หรือบุคคลที่มีสถานะด้อย (infamis) [46] การคลอดบุตรได้รับการสนับสนุนจากรัฐ เช่น ius trium liberorum ("สิทธิทางกฎหมายของเด็ก 3 คน") ช่วยให้ผู้หญิงที่มีบุตร 3 คนมีเกียรติเป็นสิ่งที่แสดงถึงสัญลักษณ์และมีสิทธิพิเศษทางกฎหมาย และยังได้รับอิสระจากการมีผู้พิทักษ์เพศชาย[47]
 
ปรัชญาลัทธิสโตอิกมีอิทธิพลต่อการพัฒนากฎหมายของชาวโรมัน นักปรัชญาลัทธิสโตอิกในสมัยจักรพรรดิเช่น เซเนกา (Seneca) และMusonius Rufus ซึ่งได้พัฒนาทฤษฎีความสัมพันธ์ที่ถูกต้องตามกฎหมาย (just relationships) นักปรัชญาเหล่านี้ไม่ได้ส่งเสริมความเท่าเทียมกันในสังคมหรือภายใต้กฎหมาย นักปรัชญาถือว่าธรรมชาติให้ความสามารถเท่าเทียมกันแก่ชายและหญิงในเรื่องคุณงามความดีและหน้าที่เท่าเทียมกัน การกระทำในทางที่ดีงาม ดังนั้นชายและหญิงมีความต้องการเท่าเทียมกันในการได้รับการศึกษาทางปรัชญา[20] แนวโน้มทางปรัชญาเหล่านี้ในกลุ่มคนร่ำรวยถือว่าได้ช่วยพัฒนาสถานะของผู้หญิงภายใต้สมัยจักรพรรดิ[48]
 
กรุงโรมไม่มีระบบการศึกษาที่ได้รับการส่งเสริมจากรัฐ และการศึกษาจะมีอยู่ได้เพียงแค่ผู้ที่สามารถจ่ายค่าเรียนได้ บุตรสาวของสมาชิกวุฒิสภา (senators) และอัศวิน (knights) ได้รับการศึกษาระดับประถมศึกษา (ในช่วงอายุ 7-12 ปี) [49] ถ้าเราไม่พิจารณาเรื่องเพศ กล่าวได้ว่าผู้คนจำนวนน้อยได้รับการศึกษาในระดับดังกล่าว เด็กหญิจากครอบครัวที่มีฐานะปานกลางอาจจะต้องเรียนหนังสือเพื่อช่วยเหลือธุรกิจครอบครัวของตนหรือได้ทักษะความสามารถในการอ่านเขียนที่จะช่วยให้ตนทำงานเป็นเสมียนและเลขานุการ[50] สตรีที่ได้รับความโดดเด่นที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลกโบราณในเรื่องการเรียนรู้ คือ ไฮพาเทีย แห่งอเล็กซานเดรีย ซึ่งสอนบทเรียนขั้นสูงให้แก่ชายหนุ่มและให้คำแนะนำเรื่องความสมบูรณ์แบบของอียิปต์ในเรื่องการเมือง อิทธิพลของไฮพาเทียก่อให้เกิดความขัดแย้งกับหัวหน้าบาทหลวงแห่งอเล็กซานเดรียผู้ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องในการเสียชีวิตของไฮพาเทียในปี 415 เสียชีวิตโดยกลุ่มมาเฟียที่เป็นชาวคริสเตียน[51]
 
 
เส้น 62 ⟶ 63:
สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติมในหัวข้อนี้ ดูได้ที่ Women’s suffrage (สิทธิในการเลือกตั้งของสตรี)
ระหว่างศตวรรษที่ 19 ผู้หญิงจำนวนหนึ่งเริ่มตื่นตัวในการมีสิทธิในการออกเสียงเลือกตั้งและมีส่วนร่วมในการปกครองและการออกกฎหมาย[92] ผู้หญิงคนอื่นเช่น Helen Kendrick Johnson ต่อต้านสิทธิในการเลือกตั้ง ผลงานของ Helen Kendrick Johnson เรื่องผู้หญิงและสาธารณรัฐอาจจะมีเรื่องข้อโต้แย้งที่ดีที่สุดในการมีสิทธิเลือกตั้งของผู้หญิงในสมัยนั้น[93] แนวคิดเรื่องสิทธิในการเลือกตั้งของสตรีพัฒนาไปตามแนวคิดเรื่องสิทธิในการเลือกตั้งสากล และทุกวันนี้สิทธิในการเลือกตั้งของสตรีถือว่าเป็นสิทธิหนึ่ง (ภายใต้อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ) ระหว่างศตวรรษที่ 19 สิทธิในการเลือกตั้งขยายขอบเขตไปเรื่อยๆในประเทศต่างๆและผู้หญิงเริ่มรณรงค์เพื่อสิทธิในการเลือกตั้งของตน ในปี ค.ศ. 1893 ประเทศนิวซีแลนด์กลายมาเป็นประเทศแรกที่ให้สิทธิในการออกเสียงแก่ผู้หญิงในระดับชาติ ประเทศออสเตรเลียให้สิทธิแก่ผู้หญิงในปี ค.ศ. 1902[82] ประเทศในแถบสแกนดิเนเวียจำนวนหนึ่งให้สิทธิในการเลือกตั้งแก่ผู้หญิงในตอนต้นศตวรรษที่ 20 เช่น ฟินแลนด์ (ปี ค.ศ. 1906) นอรเวย์ (ปี ค.ศ. 1913) เดนมาร์คและไอซแลนด์ (ปี ค.ศ. 1915)
ในตอนช่วงสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 หลายๆประเทศก็ให้สิทธิการเลือกตั้งแก่ผู้หญิงตามมา เช่น เนเธอร์แลนด์ (1917) ออสเตรีย อาเซอร์ไบจาน[94] แคนาดา เชโกสโลวาเกีย จอร์เจีย โปแลนด์ และสวีเดน (1918) เยอรมันนีและเยอรมนีและ ลักเซมเบิร์ก (1919) และสหรัฐอเมริกา (1920) ประเทศสเปนให้สิทธิเลือกตั้งแก่ผู้หญิงในปี 1931 ฝรั่งเศส (1944) เบลเยี่ยม อิตาลี โรมาเนีย และยูโกสลาเวียในปี 1946 สวิตเซอร์แลนด์ (1971) ลิกเตนสไตน์ในปี 1984[82] ในละตินอเมริกา บางประเทศให้สิทธิการเลือกตั้งแก่ผู้หญิงในช่วงครึ่งศตวรรษที่ 20 เอกวาดอร์ (1929) บราซิล (1932) เอล ซัลวาดอร์ (1939) สาธารณรัฐโดมินิกัน (1942) กัวเตมาลา (1956) และอาเจนตินา (1946) ในประเทศอินเดีย ภายใต้กฎอาณานิคม สิทธิในการเลือกตั้งสากลได้รับการสนับสนุนในปี ค.ศ. 1935 ประเทศอื่นๆในเอเชียให้สิทธิการเลือกตั้งแก่ผู้หญิงในตอนกลางศตวรรษที่ 20 เช่น ญี่ปุ่น (1945) จีน (1947) และอินโดนีเซีย (1955) ในแอฟริกาโดยทั่วไปแล้วผู้หญิงได้รับสิทธิในการเลือกตั้งผ่านทางสิทธิการเลือกตั้งสากล เช่น ลิเบเรีย (1947) ยูกันดา (1958) และไนจีเรีย (1960) ในประเทศต่างๆในตะวันออกกลาง สิทธิในการเลือกตั้งสากลมีขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้ว่าในประเทศอื่นๆ เช่น คูเวต สิทธิในการเลือกตั้งมีจำกัด[82] ในวันที่ 16 พฤษภาคม ปี ค.ศ. 2005 รัฐสภาของคูเวตได้ขยายขอบเขตสิทธิการเลือกตั้งให้แก่ผู้หญิง
 
== สิทธิในทรัพย์สิน (Property Right) ==
 
{{โครงส่วน}}
ระหว่างศตวรรษที่ 19 ผู้หญิงจำนวนหนึ่งในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษได้เริ่มท้าทายกฎหมายซึ่งไม่ปฏิเสธสตรีในการมีสิทธิในทรัพย์สินเมื่อสตรีได้แต่งงานไป ภายใต้หลักกฎหมายจารีตประเพณีในเรื่องการที่สามีอำนาจและอิทธิพลในการคุ้มครองและควบคุมภรรยา (Coverture) ในหลักกฎหมายนี้สามีได้รับอำนาจในการควบคุมจัดการอสังหาริมทรัพย์และเงินค่าจ้างของภรรยา ในช่วงตอนต้นยุค 1840 (1840-1849) สภานิติบัญญัติแหงรัฐ (State Legislature) ในสหรัฐอเมริกาและรัฐสภาชาวอังกฤษ[93] เริ่มออกบัญญัติเพื่อคุ้มครองทรัพย์สินของสตรีจากการควบคุมของสามีและเจ้าหนี้ของสามีตน กฎหมายเหล่านี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ Married Women's Property Acts (พระราชบัญญัติทรัพย์สินของสตรีสมรส) [94] ศาลในสหรัฐอเมริกาในช่วงศตวรรษที่ 19 ก็ต้องการให้มี privy examinations ในเรื่องที่หญิงสมรสจะขายทรัพย์สินของตน คำว่า “Privy examination” คือ การดำเนินการทางกฎหมายในการที่หญิงสมรสซึ่งปรารถนาในการขายทรัพย์สินของตน จำเป็นจะต้องมีการตรวจสอบทางกฎหมายโดยผู้พิพากษาหรือผู้พิพากษาศาลแขวง (justice of the peace) โดยไม่ให้สามีมาปรากฎปรากฏตัวที่ศาลเพื่อสอบถามว่าสามีตนได้กดดันให้ลงนามในเอกสารหรือไม่[95]
 
== การเคลื่อนไหวในปัจจุบัน ==
 
{{โครงส่วน}}
ในทศวรรษต่อมา สิทธิสตรีได้กลายมาเป็นประเด็นสำคัญในสังคมที่พูดภาษาอังกฤษ ในช่วงยุค 1960 (1960-69) มีการเคลื่อนไหวซึ่งเรียกว่า “สตรีนิยม (Feminism) ” หรือ “ขบวนการปลดแอกสตรี (Women's Liberation) ” นักปฏิรูปต้องการรายได้ที่เท่าเทียมกับบุรุษ สิทธิที่เท่าเทียมกันทางกฎหมาย และอิสระในการวางแผนครอบครัว หรือสิทธิในการไม่มีบุตร
ในสหราชอาณาจักร มีความเคลื่อนไหวเรื่องความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่ในเรื่องความเท่าเทียมกันทางกฎหมาย ซึ่งการเคลื่อนไหวโดยบางส่วนนี้มาจากการจ้างงานสตรีอย่างกว้างขวาง ซึ่งในอดีตที่ผ่านมาโดยธรรมเนียมประเพณีผู้ชายมีบทบาทในช่วงสงครามโลก ภายในช่วงยุค 1960 (1960-69) กระบวนการนิติบัญญัติ (legislative process) ติดตามรายงานคณะกรรมาธิการ (select committee) ของ วิลลี่ แฮมิลตัน ผู้เป็นสมาชิกสภา ร่างกฎหมายของ Willie ว่าด้วยค่าตอบแทนที่เท่าเทียมกันสำหรับงานที่มีคุณค่าเท่ากัน (equal pay for equal work) การจัดตั้งคณะกรรมการการกีดกันทางเพศ ร่างพระราชบัญญัติของ Lady Sear ว่าด้วยการต่อต้านการกีดกันทางเพศ สมุดปกเขียวของรัฐบาล ปี ค.ศ. 1973 จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1975 พระราชบัญญัติของชาวอังกฤษว่าด้วยการกีดกันทางเพศ พระราชบัญญัติค่าตอบแทนที่เท่าเทียมกัน และคณะกรรมาธิการาร้างโอกาสที่เท่าเทียม (Equal Opportunity Commission) ได้มีผลตามกฎหมาย
 
และในประเทศอื่นๆ แห่งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลอังกฤษจึงมีความเห็นด้วยในการยกเลิกกฎหมายกีดกันทางเพศ
ในสหรัฐอเมริกา องค์กรสตรีแห่งชาติ (เอ็นโอดับเบิลยู) ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1966 มีวัตถุประสงค์ในการให้ความเท่าเทียมแก่สตรีทุกคน องค์กรสตรีแห่งชาติเป็นกลุ่มหนึ่งที่สำคัญซึ่งต่อสู้เพื่อบทแก้ไขที่ว่าด้วยสิทธิเท่าเทียมกัน (อีอาร์เอ) บทแก้ไขนี้กล่าวไว้ว่า “ความเท่าเทียมในสิทธิภายใต้กฎหมายจะไม่มีการปฏิเสธหรือลดทอนสิทธิ์โดยประเทศสหรัฐอเมริกาหรือรัฐใดๆเนื่องจากเรื่องเพศ แต่อย่างไรก็ตามมีความไม่เห็นด้วยในเรื่องความเข้าใจบทแก้ไขที่เสนอ ผู้สนับสนุนบทแก้ไขเชื่อว่าบทแก้ไขนี้จะเป็นสิ่งที่รับประกันว่าผู้หญิงได้รับการปฏิบัติที่เป็นธรรม แต่ผู้วิจารณ์เกรงว่าผู้หญิงอาจจะไม่มีสิทธิในการได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากสามีตน บทแก้ไขนี้ได้สิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1982 เนื่องไม่มีจำนวนรัฐมากพอที่ให้การสนับสนุนบทแก้ไขนี้ ERA นำมารวมอยู่ในการประชุมใหญ่ต่อมา แต่ยังมีความล้มเหลวในการอนุมัติ
 
ในประเทศยูเครน กลุ่มรณรงค์สิทธิสตรีฟีเมน (FEMEN) มีขึ้นในปี ค.ศ. 2008 องค์กรนี้เป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติเนื่องจากการประท้วงโดยการเปลือยอกของสตรีในการต่อต้านนักท่องเที่ยวที่เน้นการมีเพศสัมพันธ์กับโสเภณี การแต่งงานระหว่างชาติ การแบ่งแยกเพศ และการเจ็บป่วยที่เกี่ยวข้องกับสังคมระหว่างประเทศ การเจ็บป่วยในประเทศ การเจ็บป่วยทางสังคม กลุ่มฟีเมนมีกลุ่มผู้ให้ความสนับสนุนเห็นใจหลายกลุ่มในประเทศแถบยุโรปโดยผ่านทางสื่อสังคม
 
 
'''
'''Birth control and reproductive rights'''
'''สิทธิการควบคุมกำเนิดและสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ (reproductive rights) ''''''
 
ในยุค 1870 (1870-79) ผู้สนับสนุนสิทธิสตรีพัฒนาแนวคิดเรื่องความเป็นมารดาโดยความสมัครใจ ให้เป็นอย่างการวิจารณ์ทางการเมืองในเรื่องความเป็นมารดาโดยไม่สมัครใจ และการแสดงความต้องการในการปลดปลอยผูหญิง (women's emancipation) ผู้สนับสนุนความเป็นมารดาโดยสมัครใจไม่เห็นด้วยกับการคุมกำเนิด แย้งว่าผู้หญิงควรจะมีส่วนเกี่ยวข้องในเรื่องเพศสัมพันธ์เมื่อมีความต้องการเป็นผู้ให้กำเนิดและได้ส่งเสริมการบังคับใจตนเองแบบถาวรหรือตามช่วงเวลา
 
ในตอนต้นศตวรรษที่ 20 การคุมกำเนิดมีความก้าวหน้าเป็นอย่างทางเลือกหนึ่ง ในการจำกัดครอบครัวและการเป็นมารดาโดยสมัครใจ คำว่า “การคุมกำเนิด” เข้ามารวมอยู่ในภาษาอังกฤษในปี ค.ศ. 1914 มาร์กาเรต แซนเกอร์ (Margaret Sanger) ได้ทำให้คำเฉพาะนี้เป็นที่แพร่หลาย มาร์กาเรตเป็นผู้ที่มีความตื่นตัวในสหรัฐอเมริกา มาร์กาเรตมีชื่อเสียงนานาชาติภายในยุค 1930 (1930-39) Marie Stopes ซึ่งเป็นนักรณรงค์ในการคุมกำเนิดในประเทศอังกฤษ Marie ได้ทำให้การคุมกำเนิดเป็นที่ยอมรับในประเทศอังกฤษระหว่างปี ค.ศ. 1920 โดยนำคำเฉพาะนี้มาใช้ในทางวิทยาศาสตร์
Stopes มีส่วนช่วยเหลือในความเคลื่อนไหวในการคุมกำเนิดในประเทศอาณานิคมของชาวอังกฤษ การเคลื่อนไหวในการควบคุมกำเนิดสนับสนุนการควบคุมกำเนิดและการอนุญาตให้มีความสัมพันธ์ทางเพศตามที่ต้องการโดยไม่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์
ในการเน้นเรื่องการควบคุมกำเนิด การเคลื่อนไหวในเรื่องการคุมกำเนิดได้มีข้อโต้แย้งว่าผู้หญิงควรจะมีการควบคุมการเจริญพันธุ์และการเคลื่อนไหวนี้มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับการเคลื่อนไหวของผู้สนับสนุนสิทธิสตรี สโลแกนเช่น “ควบคุมร่างกายของเรา” วิจารณ์เรื่องการครอบงำโดยผู้ชายและต้องการให้มีการปลดแอกสตรี ในยุค 1960 และยุค 1970 การเคลื่อนไหวในการคุมกำเนิดสนับสนุนการออกกฎหมายการทำแท้งและมีการรณรงค์การศึกษาการคุมกำเนิดโดยรัฐบาล ในยุค 1980 องค์กรเกี่ยวข้องกับการควบคุมประชากรและการคุมกำเนิดได้มีส่วนร่วมในความต้องการให้มีสิทธิในการคุมกำเนิดและการทำแท้ง