ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหรียญศารทูลมาลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narumonsookjoy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
'''เหรียญศารทูลมาลา''' มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษว่า "The Saratul Mala Medal" ใช้อักษรย่อ ร.ศ.ท. เป็นเหรียญเงินชนิดเดียว สำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบแก่ข้าราชการ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติบรรจบครบรอบปีที่ 15 ใน พ.ศ. 2468 ซึ่งกองเสือป่าอาสาสมัครได้ดำเนินตามกระแสพระบรมราโชบายมั่นคงเป็นปึกแผ่น เผยแผ่ไปทั่วพระราชอาณาจักรจนประสบผลแล้วซึ่งความยั่งยืน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงพระราชดำริเห็นสมควรที่จะสถาปนาเหรียญศารทูลมาลา สำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบแก่ผู้ที่ปฏิบัติราชการเสือป่าด้วยความอุตสาหะ ที่รับราชการมาครบกำหนด 15 ปีบริบูรณ์ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา "พระราชบัญญัติเหรียญศารทูลมาลา พระพุทธศักราช 2468" ขึ้น ประกาศไว้เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2468 โดยให้ใช้ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2468 ปัจจุบันเหรียญศารทูลมาลาเป็นเหรียญที่พ้นสมัยพระราชทาน
 
== การพระราชทาน และการเรียกคืน ==
เหรียญศารทูลมาลา มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษว่า "The Saratul Mala Medal" ใช้อักษรย่อ ร.ศ.ท. เป็นเหรียญสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในราชการ มีชนิดเดียว เป็นเหรียญเงิน
เหรียญศารทูลมาลาพระราชทานแก่ผู้ที่ปฏิบัติราชการเสือป่า เป็นนายเสือป่า ทั้งชั้นสัญญาบัตรและชั้นประทวนตั้งแต่ชั้นนายหมู่ใหญ่ขึ้นไป เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 15 ปี หรือผู้ที่ทรงดำริเห็นควร จะได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเป็นพิเศษ กำหนดเวลาของผู้ที่จะได้รับพระราชทานหรียญศารทูลมาลานี้ ให้นับตั้งแต่วันประกาศของกองเสือป่าอาสาสมัครให้ผู้นั้นเป็นสมาชิก ผู้ออกจากตำแหน่งประจำการเป็นกองหนุนและกองนอกไม่นับเข้าในเกณฑ์ที่จะได้รับพระราชทาน เหรียญศารทูลมาลานี้ เมื่อผู้รับพระราชทานสิ้นชีพล่วงลับไปแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้ไว้ เป็นที่ระลึกแก่บุตรหลานสืบต่อไป ไม่ต้องส่งคืน แต่ผู้ที่ได้รับต่อ ๆ กันไป จะใช้ติดเหรียญนี้ประดับกายไม่ได้ เป็นแต่พระราชทานให้เก็บไว้เป็นที่ระลึกเท่านั้น ผู้ที่ได้รับพระราชทานเหรียญศารทูลมาลานี้มีประกาศนียบัตรทรงลงพระปรมาภิไธย ประทับพระราชลัญจกรกำกับเป็นสำคัญ
พ.ศ. ๒๔๖๘ ในการที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จ เถลิงถวัลยราชสมบัติบรรจบครบรอบ ปีที่ ๑๕ ในพ.ศ.๒๔๖๘ ซึ่งกองเสือป่า
อาสาสมัคร ได้ดำเนินตามกระแสพระบรมราโชบายมั่นคงเป็นปึกแผ่น เผยแผ่ไปทั่วพระราชอาณาจักร จนประสบผลแล้วซึ่งความยั่งยืนพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
จึงทรงพระราชดำริเห็นสมควรที่จะสถาปนาเหรียญศารทูลมาลา สำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบแก่ผู้ที่ปฏิบัติราชการเสือป่า ด้วยความอุตสาหะ ที่รับราชการมาครบกำหนด
๑๕ ปีบริบูรณ์ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา "พระราชบัญญัติเหรียญศารทูลมาลา พระพุทธศักราช ๒๔๖๘" ขึ้น ประกาศไว้เมื่อวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๘
lโดยให้ใช้ ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๔๖๘
 
ถ้าผู้ที่ได้รับพระราชทานเหรียญศารทูลมาลานี้ มีความผิดต้องถอดจากยศเสือป่า หรือ ยศ บรรดาศักดิ์เมื่อใด ให้เจ้าพนักงานเรียกเหรียญและประกาศนียบัตรคืน ผู้ใดซึ่งเป็นผู้สมควรจะได้รับพระราชทาน ตามพระราชบัญญัตินี้แล้ว แต่ผู้นั้นประพฤติชั่วอย่างใด ๆ ซึ่งทรงพระราชดำริเห็นว่ายังไม่ควรจะพระราชทาน ก็จะโปรดเกล้าฯ ให้งดไว้ยังไม่พระราชทาน หรือถ้าได้รับพระราชทานไปแล้ว ภายหลังปรากฏว่าเป็นผู้ประพฤติชั่วตามที่กล่าวมาแล้ว จะโปรดเกล้าฯ ให้เรียกเหรียญและประกาศนียบัตรคืนตามพระราชดำริเห็นสมควร
การพระราชทาน และการเรียกคืน
๑. สำหรับพระราชทาน แก่ผู้ที่ปฏิบัติราชการเสือป่า เป็นนายเสือป่า ทั้งชั้นสัญญาบัตรและชั้นประทวน ตั้งแต่ชั้นนายหมู่ใหญ่ขึ้นไป เป็นเวลา
ไม่น้อยกว่า ๑๕ ปี หรือผู้ที่ทรงดำริเห็นควร จะได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเป็นพิเศษ
๒. กำหนดเวลาของผู้ที่จะได้รับพระราชทานหรียญศารทูลมาลานี้ ให้นับตั้งแต่วันประกาศของกองเสือป่าอาสาสมัครให้ผู้นั้นเป็นสมาชิก
ผู้ออกจากตำแหน่งประจำการเป็นกองหนุนและกองนอกไม่นับเข้าในเกณฑ์ที่จะได้รับพระราชทาน
๓. เหรียญศารทูลมาลานี้ เมื่อผู้รับพระราชทานสิ้นชีพล่วงลับไปแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้ไว้ เป็นที่ระลึกแก่บุตรหลาน
สืบต่อไป ไม่ต้องส่งคืน แต่ผู้ที่ได้รับต่อๆ กันไป จะใช้ติดเหรียญนี้ประดับกายไม่ได้ เป็นแต่พระราชทานให้เก็บไว้เป็นที่ระลึกเท่านั้น
๔. ผู้ที่ได้รับพระราชทานเหรียญศารทูลมาลานี้มีประกาศนียบัตรทรงลงพระปรมาภิไธย ประทับพระราชลัญจกรกำกับเป็นสำคัญ
๕. ถ้าผู้ที่ได้รับพระราชทานเหรียญศารทูลมาลานี้ มีความผิดต้องถอดจากยศเสือป่า หรือ ยศ บรรดาศักดิ์เมื่อใด ให้เจ้าพนักงาน
เรียกเหรียญและประกาศนียบัตรคืน
๖. ผู้ใดซึ่งเป็นผู้สมควรจะได้รับพระราชทาน ตามพระราชบัญญัตินี้แล้ว แต่ผู้นั้นประพฤติชั่วอย่างใดๆ ซึ่งทรงพระราชดำริเห็นว่า
ยังไม่ควรจะพระราชทาน ก็จะโปรดเกล้าฯ ให้งดไว้ยังไม่พระราชทาน หรือถ้าได้รับพระราชทานไปแล้ว ภายหลังปรากฏว่าเป็น ผู้ประพฤติชั่ว
ตามที่กล่าวมาแล้ว จะโปรดเกล้าฯ ให้เรียกเหรียญและประกาศนียบัตรคืนตามพระราชดำริเห็นสมควร
 
หมายเหตุ : ปัจจุบันเป็นเหรียญที่พ้นสมัยพระราชทาน
http://www.siamscout.org/Knowledge5.htm
{{เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย}}